ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล โรงพยาบาล
| ภาพ = [[ไฟล์:MOPH_logo.jpg|162px|สัญลักษณ์กระทรวงสาธารณสุข]]
| ชื่อ = โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
| ชื่ออังกฤษ = Chophraya Yommarat Hospital
| ก่อตั้ง = [[พ.ศ. 2469]]
| ประเภท = รัฐ ([[โรงพยาบาล|โรงพยาบาลศูนย์]])
| สังกัด = [[กระทรวงสาธารณสุข]]
บรรทัด 14:
| เว็บไซต์ = [http://www.yrh.moph.go.th/ http://www.yrh.moph.go.th]
}}
'''โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช''' เป็นโรงพยาบาลศูนย์ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ขนาด 634 เตียง เปิดดำเนินการเมื่อปี [[พ.ศ. 2469]] ชื่อของโรงพยาบาลมาจากชื่อของ [[เจ้าพระยายมราช]] ผู้บริจาคิเงินสร้างโรงพยาบาล
 
== ประวัติ ==
ปี พ.ศ. 2469 ท่านเจ้าพระยายมราช ได้บริจาคเงินจำนวนเงิน 40,000 บาท สร้างอาคารเจ้าพระยายมราชบริเวณใกล้เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีในปัจจุบัน โดยหันไปทางแม่น้ำท่าจีน โดยด้านหลังเป็นถนนจึงรับบริการได้เป็นอย่างดีทางน้ำและทางบก
ปี พ.ศ. 2478 มีนายแพทย์ท่านแรกประจำคือ นายแพทย์เคียน พานิช
ปี พ.ศ. 2485 กระทรวงสาธารณสุขยกระดับโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชเป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจำจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีการขยายหอผู้ป่วยอายุรกรรม ศัลยกรรม และสูติกรรม
ปี พ.ศ. 2500 แม่น้ำท่าจีนตื้น โดยเปลี่ยนด้านหน้าโรงพยาบาลเป็นด้านถนนแทน บุตรหลานท่านเจ้าพระยายมราชได้สร้างอนุสาวรีย์ท่านเจ้าพระยายมราชโดยมีกรมศิลปากรเป็นผู้
ออกแบบ โดยมีอดีตนายกรัฐมนตรีจอมพลป. พิบูลสงครามเป็นประธานเปิดอนุสาวรีย์ในวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นวันโรงพยาบาล
ปี พ.ศ. 2534 โรงพยาบาลมีพื้นที่จำกัดไม่สามารถขยายพื้นได้อีก ทางราชการมอบเงินสร้างอาคารอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 7 ชั้นจำนวนเงิน 144.34 ล้านบาท
ปี พ.ศ. 2537 อาคารอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 7 ชั้นเสร็จสิ้น โดยมีห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ห้องผ่าตัดและหอผู้ป่วย
ปี พ.ศ. 2542 การสร้างอาคารพิเศษ 5 ชั้นเสร็จสิ้น โดยกำลังสร้างอาคารอำนวยการแห่งใหม่สูง 11 ชั้น และ อาคารเฉลิมพระบารมี 7 ชั้นโดยงบประมาณจากฯพณฯท่าน บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมตรีคนที่ 21 รวมทั้งการสร้างอาคารบรรหาร แจ่มใสที่ 1-3 เสร็จสิ้น
ปี พ.ศ. 2544 อาคารอำนวยการ 11 ชั้นและอาคารเฉลิมพระบารมี 7 ชั้นเสร็จสิ้น โดยวันที่ 4 กรกฎาคมในปีเดียวกันได้ยกระดับเป็นโรงพยาบาลขนาด 503 เตียง
ปี พ.ศ. 2545 ได้ยกระดับเป็นโรงพยาบาลขนาด 623 เตียง สร้างสำนักงานปฏิบัติการที่ชั้น 4 อาคารอุบัติเหตุ
ปี พ.ศ. 2547 ได้จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือเด็กเตาะแตะและผู้สูงอายุ ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ปี พ.ศ. 2548 ได้เปิดศูนย์พื่งได้ ช่วยเหลือผู้มีความทุกข์จากเหตุการณ์ต่างๆ
ปี พ.ศ. 2550 ปรับปรุงอาคารพิเศษบรรหาร แจ่มใสที่ 2 ให้ทันสมัย โดยชั้น 1 เป็นศูนย์กักกันผู้ติดเชื้ออันตราย
ปี พ.ศ. 2551 เปิดศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย บริเวณชั้น 4 อาคารอุบัติเหตุ รวมทั้งย้ายศูนย์บริจาคโลหิตไปอยู่ชั้น 4 สร้างห้องส่องกล้องระบบทางเดืนหายใจที่ชั้น 3เริ่มสร้างศูนย์เอกซเรย์คอมพืวเตอร์แห่งใหม่ที่อาคารอำนวยการเดิมชั้น 1 ปรับปรุงการให้บริการทางการแพทย์โดยระบบคอมพิวเตอร์เครือข่าย
ปี พ.ศ. 2552 ได้รับมาตราฐานการบริการ HA
ปี พ.ศ. 2553 การสร้างศูนย์บริจาคโลหิตไปอยู่ชั้น 4 สร้างห้องส่องกล้องระบบทางเดืนหายใจที่ชั้น 3 ศูนย์เอกซเรย์คอมพืวเตอร์แห่งใหม่ที่อาคารอำนวยการเดิมเสร็จสิ้น
 
==เวลาเปิดทำการ==
เปิดตลอด 24 ชั่วโมง
ผู้ป่วยนอก
โดยวันจันทร์-ศุกร์เปิดแผนกผู้ป่วยนอกที่ชั้น 1 อาคารอำนวยการ เวลา 08.00 น.- 16.00 น.โดยเปิดรับบัตรเวลา 06.00 น.ปิดรับบัตรเวลา 15.00 น.
เวลา 16.00 น.- 20.00 น.เปิดห้องตรวจนอกเวลาราชการ ที่อาคารอุบัติเหตุ เปิดรับบัตรเวลา 15.00 น. ปิดรับบัตรเวลา 19.30 น.
ในวันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 08.00 น.- 12.00 น.และเวลา 16.00 น.-20.00 น.ที่ห้องตรวจนอกเวลาราชการ
นอกจากนี้จะส่งห้องอุบัติเหตุชั้น 1 อาคารอุบัติเหตุ
ผู้ป่วยใน
หอผู้ป่วยทุกหอและอาคารพิเศษเปิดให้เยี่ยมผู้ป่วยเวลา 11.00 น.-20.00 น. ยกเว้นหอผู้ป่วยICUอายุรกรรมและหอผู้ป่วยICUศัลยกรรมเปิด 11.30 น. -13.30 น.และเวลา 18.30น. -19.00 น. และหอผู้ป่วยกิ่งวิกฤตอายุรกรรม 1และ2 เปิดเวลาเดียวกับICU
ห้องกักกันผู้ติดเชื้อที่ชั้น 1 อาคารบรรหาร แจ่มใสที่ 2 จะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าเยี่ยมโดยเด็ดขาด
 
==กลุ่มงานในการให้บริการทางการแพทย์==
1. กลุ่มงานอายุรกรรม
1.1 ห้องตรวจอายุรกรรมทั่วไป
1.1.1 นายแพทย์กฤษเทพ วรินทร์ปราโมชย์
1.1.2 นายแพทย์อนุพันธ์ หวลบุตตา
1.1.3 นายแพทย์ชาติชาย สามัคคีนิชย์
1.1.4 แพทย์หญิงนพวรรณ เจริญยศ
1.1.5 นายแพทย์สุรศักดิ์ ถิรภัทรพันธุ์ (กำลังศึกษาต่อ)
1.2 ห้องตรวจอายุรกรรมพิเศษ
1.2.1 นายแพทย์วิทยา นันทิยกุล นายแพทย์เฉพาะโรคผิวหนัง
1.2.2 นายแพทย์ไพโรจน์ ปิณจิเสคิกุล นายแพทย์เฉพาะโรคหัวใจ
1.2.3 แพทย์หญิงอรัญญา กัลยาณพจน์พร แพทย์หญิงเฉพาะโรคหัวใจ
1.2.4 แพทย์หญิงพิมพงศ์ ว่องตระกูล แพทย์หญิงเฉพาะโรคไตและความดันโลหิตสูง
1.2.5 แพทย์หญืงวนิดา สมบูรณ์ศิลป์ แพทย์หญิงเฉพาะโรคไตและความดันโลหิตสูง
1.2.6
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ขยายความ}}
{{โรงพยาบาลในประเทศไทย}}
 
[[หมวดหมู่:โรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี|จ]]
{{เรียงลำดับ|จ้าพระยายมราช}}
[[หมวดหมู่:โรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี|จ]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามนามของบุคคลสำคัญของไทย]]
{{โครงสถานพยาบาล}}