ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:SouthernBusTerminal (Thanon Borommaratchachonnani).jpg|thumb|สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)]]
 
[[ไฟล์:Place NewBKKSouthernBusTerminal.jpg|thumb|250px|อาคารผู้โดยสาร]]
'''สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)''' หรือ '''สายใต้ใหม่ (ฉิมพลี)''' เป็นสถานีขนส่ง สำหรับรถโดยสารทางไกล สายใต้ และสายตะวันตกบางส่วน เป็นสถานีขนส่งเอกชน สร้างและบริหารโดย บริษัท สิริโปรเจกต์ คอนสทรัคชั่น จำกัด โดยได้รับสัมปทานจาก [[บริษัท ขนส่ง จำกัด]] [[กระทรวงคมนาคม]] เป็นระยะเวลา 20 ปี ปัจจุบันก่อสร้างเรียบร้อยและเปิดให้บริการเดินรถสายใต้ทั้งหมด ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปเปิดเดินรถในวันที่ [[1 พฤศจิกายน]] 2550 และมีกำหนดเริ่มการเดินรถสายตะวันตกในวันที่ [[15 พฤศจิกายน]] 2550 ส่วนพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ จะดำเนินการในภายหลัง เนื่องจากขั้นต้นยังเป็นการเดินรถทดลองระบบ นอกจากนี้สถานีขนส่งแห่งนี้ ยังเป็นสถานีขนส่งที่มีมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง มีระบบการจัดการคล้ายท่าอากาศยาน กล่าาวคือ ผู้ที่ไม่มีตั๋วโดยสาร จะไม่สามารถเข้าสู่เขตชานชาลาได้
 
{{PAGENAME}} ตั้งอยู่ที่หัวมุม[[ถนนบรมราชชนนี]] ตัดกับ [[ถนนพุทธมณฑลสาย 1]] [[แขวงฉิมพลี]] [[เขตตลิ่งชัน]] ห่างจากสถานีเดิมไปทางตะวันตก (ออกเมือง) บนฝั่งซ้ายของถนนบรมราชชนนี เช่นเดียวกัน ประมาณ 5 กิโลเมตร
[[ไฟล์:Place NewBKKSouthernBusTerminal.jpg|thumb|250200px|อาคารผู้โดยสาร]]
 
==ส่วนประกอบ==
 
[[ไฟล์:Place NewBKKSouthernBusTerminal Platform.jpg|thumb|250px|บริเวณชานชาลา]]
{{PAGENAME}} มีอาคารหลักสองส่วน คืออาคารผู้โดยสาร และอาคารชานชาลา โดยมีทางเชื่อม (flyover) เชื่อมต่อกัน โดยอาคารผู้โดยสารแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ G M 1 และ 2 โดยพื้นที่ส่วนในของชั้น G และ M เป็นลานจอดรถในอาคาร ส่วนพื้นที่ส่วนหน้าเป็นส่วนของเอสซีพลาซ่า ส่วนชั้นที่ 1 เป็นช่องจำหน่ายตั๋วตรงกลาง ล้อมรอบด้วยโซนพลาซ่า และชั้นที่ 2 เป็นโซนพลาซ่าและศูนย์อาหารทั้งชั้น
 
บรรทัด 15:
 
==เอสซีพลาซ่า==
[[ไฟล์:Place NewBKKSouthernBusTerminal Platform.jpg|thumb|250200px|บริเวณชานชาลา]]
เอสซีพลาซ่า เป็นศูนย์การค้าขนาดเล็กอยู่ในพื้นที่โซนพลาซ่าทั้ง 4 ชั้นของ{{PAGENAME}} ประกอบด้วยศูนย์อาหาร ร้านค้าย่อย ธนาคาร ร้านสะดวกซื้อ บริการไปรษณีย์ โดยให้เป็นที่เดินจับจ่ายใช้สอยขณะรอเวลารถโดยสารเทียบท่า นอกจากนี้บริเวณศูนย์อาหาร และที่พักผู้โดยสารในชั้นจำหน่ายตั๋ว มีการติดตั้งโทรทัศน์แขวนเพดานทั่วบริเวณ เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้รอการโดยสาร
 
เส้น 21 ⟶ 22:
 
{{สถานีขนส่งหลักของกรุงเทพมหานคร}}
 
{{เรียงลำดับ|กรุงเทพ}}
{{สร้างปี|2550}}