ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพียงความเคลื่อนไหว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ช่วยดูหน่อย
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ช่วยดูหน่อย}}
'''เพียงความเคลื่อนไหว''' พิมพ์ในนิตยสารต่าง ๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2516 - 2522 และพิมพ์รวมเล่มครั้งแรก 2517 ประพันธ์โดย [[เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์]]
เพียงความเคลื่อนไหว
 
พิมพ์ในนิตยสารต่างๆ ในช่วงปี ๒๕๑๖-๒๕๒๒
ในปีเพียงความเคลื่อนไหว เป็นผลงาน ที่เริ่มต้นเมื่อ[[เหตุการณ์ 14 ตุลา|เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖2516]] ซึ่งขบวนการนักศึกษาประชาชนได้เรียกร้อง[[รัฐธรรมนูญ]] และขยายตัวเป็นการเคลื่อนไหวเพื่อความเป็นธรรมด้านต่างๆต่าง ๆ ของสังคม เนาวรัตน์ ได้เขียนบทกวีสนับสนุนการต่อสู้ครั้งนั้น ใจความตอนหนึ่งว่า
และพิมพ์รวมเล่มครั้งแรก ๒๕๑๗
 
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
(พ.ศ.๒๔๘๓ - )
เพียงความเคลื่อนไหว เป็นผลงาน ที่เริ่มต้นเมื่อเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม
ในปี ๒๕๑๖ ซึ่งขบวนการนักศึกษาประชาชนได้เรียกร้องรัฐธรรมนูญ และขยายตัวเป็นการเคลื่อนไหวเพื่อความเป็นธรรมด้านต่างๆ ของสังคม เนาวรัตน์ ได้เขียนบทกวีสนับสนุน
การต่อสู้ครั้งนั้น ใจความตอนหนึ่งว่า
"การเกิดต้องเจ็บปวด
ต้องร้าวรวดและทรมา
เส้น 25 ⟶ 20:
(เพียงความเคลื่อนไหว, หน้า ๑๐๘-๑๐๙)
งานเนาวรัตน์มีลักษณะเด่นเฉพาะตัวอยู่แล้วในข้อที่ว่า เขาจริงใจเหลือเกินกับความคิดและความรู้สึกที่แสดงออกมา ดังนั้น เนาวรัตน์จึงมิได้เขียนบทกวีการเมืองจากทฤษฎีหรือตรรกะ แต่เขาเริ่มต้นจากความรู้สึกลึกซึ้งต่อเหตุการณ์ทั้งหลาย ที่ระเบิดออกมาจากภายใน ในบท เพียงความเคลื่อนไหว เนาวรัตน์ระบายความรู้สึกของเขาออกมาจากความกดดันของเหตุการณ์ ๑๔14 ตุลาคม ๒๕๑๖2516 ว่า
ชั่วเหยี่ยวกระหยับปีกกลางเปลวแดด
เส้น 32 ⟶ 27:
ก็รู้ว่าวันนี้มีลมวก
จาก ลมวก นี้ เนาวรัตน์นำคลี่คลายเหตุการณ์ตอนจบบทกวี เพียงความเคลื่อนไหว ว่า
 
เคลื่อนไหว ว่า
"พอเสียงร่ำรัวกลองประกาศกล้า
ก็รู้ว่าวันพระมาอีกหน
เส้น 40 ⟶ 34:
ก็รู้ว่าประชาชนจะชิงชัย" (หน้า ๕๕)
ภาพ "เหยี่ยวกระหยับปีกกลางเปลวแดด" ในวรรคแรกนั้นเป็นประสบการณ์จริงๆ ของเนาวรัตน์ ขณะที่เขาอยู่ภาคใต้ เขาได้มีประสบการณ์เช่นนั้นและคิดวรรคอันทรงพลังนี้ขึ้นมา เขายังไม่รู้ว่าเหตุการณ์นี้ควรนำไปใช้ที่ไหน จะเอาไปเปรียบกับอะไร
จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ๑๔14 ตุลาคม จึงรู้ว่าถึงเวลาของ ลมวกแล้ว นี่คือประสบการณ์ของกวีที่มีความหมายต่อการสร้างสรรค์งานของเขา
 
จากผลงาน "เพียงความเคลื่อนไหว" ทำให้เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ได้รับ[[รางวัลซีไรท์]] ในปี [[พ.ศ.๒๕๒๓ 2523]] คณะกรรมการตัดสินในปีนั้นกล่าวว่า
 
"ความสามารถในการใช้รูปแบบกวีนิพนธ์ของเขานั้น เป็นที่ยอมรับอยู่แล้ว เขาเป็นศิลปินผู้เชี่ยวชาญทั้งในด้านฉันทลักษณ์ตามแบบแผน และทั้งด้านเพลงพื้นบ้านถึงขนาดที่เรียกว่า ในเพลงกล่อมเด็ก เนาวรัตน์ก็อาจสอดสาระทางการเมือง และสังคมที่ร้อนแรงได้"
 
(หน้า ๑๒)
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมที่ได้รับรางวัลซีไรต์]]
{{โครงวรรณกรรม}}