ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกรตริฟต์แวลลีย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: hu:Nagy-hasadékvölgy; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Great Rift Valley NASA.jpg|แนวหุบเขาทรุดถ่ายจากดาวเทียม|thumb|200px|right]]
'''เกรตริฟต์แวลลีย์''' ({{lang-en|Great Rift Valley}}) คือหุบเขารอยเลื่อนขนาดใหญ่ เป็นรอยแยกยาวต่อเนื่องขนาดยาวที่สุดในโลก ขนาดความกว้างประมาณ 30-100 กิโลเมตร เป็นหน้าผาดิ่งจากที่ราบสูงรอบ ๆ ลึกกว่า 450-800 เมตร พาดผ่าน 19 ประเทศ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เรียงกันได้ดังนี้ เริ่มต้นจากประเทศ[[ซีเรีย]] [[เลบานอน]] [[อิสราเอล]] [[จอร์แดน]] [[เวสต์แบงก์]] ([[ปาเลสไตน์]]) ผ่านเข้าสู่[[ทะเลแดง]] เลียบชายฝั่ง[[อียิปต์]]และ[[ซูดาน]] ก่อนจะเข้าสู่[[เอริเทรีย]] [[เอธิโอเปีย]] [[เคนยา]] [[ยูกันดา]] [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]] (ซาอีร์อีร์เดิม) [[ประเทศรวันดา|รวันดา]] [[บุรุนดี]] [[แทนซาเนีย]] [[แซมเบีย]] [[ประเทศมาลาวี|มาลาวี]] และสิ้นสุดใน[[ประเทศโมซัมบิก|โมซัมบิก]] รวมความยาวที่พาดผ่านตั้งแต่เหนือจรดใต้ ประมาณ 6,750 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ 1 ใน 4 เท่าของเส้นรอบวงโลก ([[เส้นศูนย์สูตร]]) โดยที่ขอบด้านข้างของหุบเขาทรุดสูงมากกว่า 20002,000 เมตร หุบเขาทรุดเกิดจากการที่แผนเปลือกโลก 2 แผ่นแยกออกจากกัน คือ แผ่นเปลือกโลกที่รองรับ[[คาบสมุทรอาหรับ]]และ[[แอฟริกาตะวันออก]] กับ แผ่นเปลือกโลกที่รอบรับ[[ทวีปแอฟริกา]]ทั้งทวีป ซึ่งค่อย ๆ แยกตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอทำให้เกิดแนวทรุดตัวเป็นแนวยาว เกิดที่ที่ราบทรุดตัวแม่น้ำ ร่องธารลึก และภายในยุคหน้าน้ำทะเลจะท่วมเข้ามาจนกระทั่งตัดทวีปแอฟริกาขาดออกจากกัน
 
== ลักษณะภูมิศาสตร์ ==
บริเวณหุบเขาทรุดตลอดแนวขอบจะเป็นที่สูง ตั้งแนวเขา ที่ราบสูง [[ภูเขา]]สูง และ[[ภูเขาไฟ]]
* '''แนวทรุดตอนตอนบน''' เริ่มต้นที่ทางใต้ของประเทศ[[ประเทศซีเรีย]]เกิดเป็นหุบเขาที่อยู่ระหว่างแม่น้ำจอร์แดนพาดผ่านมาทางใต้มาบริเวณแอ่งที่ลึกมากที่สุดและเป็นบริเวณที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลมากที่สุดในโลก นั้นนั่นคือที่ราบบริเวณทะเลสาบ[[ทะเลเดดซี]]
* '''แนวทรุดตอนกลาง''' เป็นแนวทรุดที่จมดิ่งอยู่ใต้ทะเลแดง ทรุดลึกจนกลายเป็น[[ทะเลแดง]]แยกทวีปแอฟริกาออกจาก[[คาบสมุทรอาหรับ]]
* '''แนวทรุดตอนล่าง''' เริ่มต้นตอนเหนือของประเทศเอธิโอเปีย บริเวณตอนกลางเป็น[[ที่ราบสูง]]เอธิโอเปียและเป็นบริเวณที่มีรอยแตกสองร่องก่อนจะแยกจากกัน '''แนวด้านตะวันออก''' ที่ไปทางใต้เข้าสู่เคนยาและแทนซาเนีย '''ส่วนแนวตะวันตก''' จะพาดผ่านเข้าไปทางวันตกเฉียงใต้ผ่านเข้าสู่ยูกันดา รวันดา บูรุนดี สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์อีร์เดิม) แล้วมารวมกันอีกครั้งบริเวณ[[ทะเลสาบมาลาวี]]
** '''แนวทางด้านตะวันออก''' บริเวณที่พาดผ่านเกิดเป็นร่องหุบเขาลึกแต่ไม่ลึกเท่าแนวตะวันตกบริเวณของทางด้านตะวันออกของแนวนี้เกิดเป็นแนวเขาสูงภูเขาสูงที่สำคัญ เช่น [[ยอดเขาเคนยา]] [[ยอดเขาคิลิมันจาโร]]
** '''แนวทางด้านตะวันตก''' เกิดเป็นร่องที่ลึกมากจนเกิดเป็นทะเลสาบเรียงลำดับตั้งแต่เหนือจรดใต้ได้ดังนี้ [[ทะเลสาบอัลเบิร์ตแอลเบิร์ต]] [[ทะเลสาบเอ็ดเวิร์ดเอดเวิร์ด]] และ[[ทะเลสาบแทนแกนยิกากันยีกา]] บริเวณขอบมี[[ทิวเขารูเวนซอโซรี]]
** '''บริเวณระหว่างทั้งสองแนว''' เกิดที่ที่ราบใหญ่และกว้างจนเกิด[[ทะเลสาบวิกตอเรีย]]อันยิ่งใหญ่
{{โครงภูมิศาสตร์}}