ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลภาษีอากร (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ศาลภาษีอากรกลาง''' เป็นศาลที่ตั้งขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 25302528]] {{อ้างอิง}}โดยเปิดทำการในวันที่ [[7 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2529]] <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/A/087/1.PDF พระราชกฏษฎีกากำหนดวันเปิดทำการศาลภาษีอากรกลาง พ.ศ. 2529]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 103 ตอนที่ 87 ลงวันที่ [[21 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2529]]</ref> มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี[[ภาษีอากร]] ซึ่งมีลักษณะพิเศษแตกต่างจาก[[คดีแพ่ง]]ทั่วไป เพราะเป็นข้อพิพาทระหว่างเอกชนกับรัฐอันเนื่องมาจากการเก็บภาษีอากร การอุทธรณ์ในคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลภาษีอากรให้อุทธรณ์ไปยัง[[ศาลฎีกา]] ไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินคดี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2528/A/120/46.PDF พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528][[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่ม 102 ตอนที่ 120 ลงวันที่ [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2528]]</ref>
 
{{ย้าย|วิกิพจนานุกรม}}
 
พจนานุกรม ไทย-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
== อำนาจพิจารณาคดี ==
ศาลภาษีอากร ความหมาย (กฎ) น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นซึ่งเป็นศาลชำนัญพิเศษมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งที่กฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลภาษีอากร เช่น คดีอุทธรณ์คำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานหรือคณะกรรมการตามกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร.
ศาลภาษีอากร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งในเรื่องต่อไปนี้
#คดีอุทธรณ์คำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานหรือคณะกรรมการตามกฏหมายเกี่ยวกับภาษีอากร
#คดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องของรัฐในหนี้ค่าภาษีอากร
#คดีพิพาทเกี่ยวกับการขอคืนค่าภาษีอากร
#คดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ตามข้อผูกพันซึ่งได้ทำขึ้นเพื่อประโยชน์แก่การจัดเก็บภาษีอากร
#คดีที่มีกฏหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจศาลภาษีอากร
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==