ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ช่วยดูหน่อย}}
'''ประชาธิปไตยแบบตัวแทน''' (Representative Democracy)
 
เส้น 7 ⟶ 8:
ในประเทศประชาธิปไตยส่วนใหญ่ที่ได้ยึดถือหลักการแบ่งแยก[[อำนาจอธิปไตย]]ออกเป็น 3 ฝ่ายคืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการนั้น มักใช้ระบอบ[[การเลือกตั้ง]]ผู้แทนเพื่อใช้อำนาจในสองประการแรก คืออำนาจนิติบัญญัติและอำนาจบริหาร เช่นตัวอย่างประเทศไทย
อย่างไรก็ตาม ประชาธิปไตยแบบตัวแทนดังกล่าวนี้ มีปัญหาพื้นฐานพอที่จะกล่าวถึงได้ใน 2 ประการประกอบด้วย ปัญหาความเป็นตัวแทนของผู้แทนราษฎรที่อาจจะไม่ได้สะท้อนความต้องการที่แท้จริงของประชาชน เนื่องจากการเบี่ยงเบนผล[[การเลือกตั้ง]]หรือด้วยวิธีการอื่นเช่น การซื้อเสียง การโกงการเลือกตั้ง (election fraud) ประการหนึ่ง กับปัญหาความโน้มเอียงที่ผู้แทนราษฎรจะตัดสินใจประการใดประการหนึ่ง โดยเฉพาะในกระบวนการทางนิติบัญญัติ ที่จะเป็นการเอื้อต่อกลุ่[[มผลประโยชน์]] และหลายกรณีที่ผลการตัดสินใจนั้นบังเกิดผลเสียหายแก่ชุมชนท้องถิ่น ซึ่งก็เป็นผลสืบเนื่องจากการการขาดความสำนึกเกี่ยวกับการเป็นตัวแทนของปวงชน อันเป็นปัญหาในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมเฉพาะตัวของผู้แทนด้วยประการหนึ่ง
 
เรียบเรียงโดย
 
'''ชัชวาลย์ ทัตศิวัช'''
 
อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยรัชต์ภาคย์