ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สันติอโศก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
→‎หลักปฏิบัติ: ว่าด้วยอาหาร
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
สันติอโศก ก่อตั้งโดย [[สมณะโพธิรักษ์]] (นายรัก รักพงษ์) ซึ่งเคยบวชเป็นพระภิกษุในคณะ[[ธรรมยุติ]] แต่ไม่เห็นด้วยระเบียบ กฎเกณฑ์ของวัด จึงได้บวชใหม่เป็นพระสังกัดคณะ[[มหานิกาย]] ได้นามว่า '''โพธิรักษ์'''
 
วันที่ [[6 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 25182516]] สมณะโพธิรักษ์ได้ประกาศตั้ง '''พุทธธรรมสถานสันติแดนอโศก'''{{อ้างอิง}} ในบริเวณหมู่บ้านใกล้เป็นสำนักสงฆ์ขึ้นอยู่กับวัดหนองกระทุ่ม ต.ทุ่งลูกนก อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม มีกลุ่มคนที่ศรัทธาเข้าร่วมประมาณ 60 คน และได้ประกาศแยกตัวออกจากคณะสงฆ์ไทย ประกาศไม่อยู่ภายใต้กฏระเบียบและการปกครองของ[[มหาเถรสมาคม]]และคณะสงฆ์ โดยอ้างว่ายึดเอา[[พระธรรมวินัย]] เป็นหลักปกครองพวกกลุ่มตนเอง
 
สันติอโศกมี 9 เครือข่ายอโศก ได้แก่ ปฐมอโศก, ศีรษะอโศก ,ราชธานีอโศก, อโศกแห่งภูผ่าภูผาฟ้าน้ำ และ ทักษิณอโศก มีศูนย์รวมที่สันติอโศกพุทธสถาน [[เขตบึงกุ่ม]] กรุงเทพฯ (ก่อตั้งเมื่อ 7 ส.ค. 2519)
 
ปัจจุบันเรียกตนเองว่า สมณะ เพื่อแตกต่างจากคำว่า พระ เนื่องด้วยผลคำตัดสินของศาล{{อ้างอิง}}
บรรทัด 21:
== คดีความ ==
{{บทความหลัก|สมณะโพธิรักษ์}}
เมื่อวันที่ [[10 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2532]] ที่ประชุม[[มหาเถรสมาคม]] มีมติเอกฉันท์ ขอให้[[สมเด็จพระสังฆราช]] ในฐานะประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ทรงลงพระนามในพระบัญชาให้สึกพระโพธิรักษ์จากสมณเพศ แต่พระโพธิรักษ์ไม่ยอมเปล่งวาจาสึก จึงเพียงให้เปลี่ยนชุดเป็นสีขาว และถูกฟ้องพร้อมกับสมณะและสิกขามาตุสิกขมาตุข้อหาแต่งกายเลียนแบบพระ ศาลแขวงพระนครเหนือ มีคำพิพากษาเมื่อ [[29 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2538]] หลังสืบพยานนานถึง 6 ปีเต็ม ให้จำเลยทั้งหมดมีความผิดตามโจทก์ฟ้อง จำคุกโพธิรักษ์ รวม 66 เดือน แต่ให้รอลงอาญา 2 ปี บุคคลอื่นๆ ก็รอลงอาญาเช่นกัน ทั้งหมดยื่นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ยืนตามชั้นต้น ศาลฎีกาพิพากษา [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2541]] ให้ยืนตามศาลอุทธรณ์ สมณะโพธิรักษ์แพ้คดี มีคำสั่งรอลงอาญา 2 ปีพร้อมคุมประพฤติ
 
== บทบาทในการเมืองไทย ==