ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความคลั่งทิวลิป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 104:
== ความเห็นสมัยใหม่ ==
 
[[ไฟล์:Semper Augustus Tulip 17th century.jpg|thumb|right|240px|ภาพเขียนสีน้ำของทิวลิป “''Semper Augustus”Augustus''” โดยจิตรกรนิรนามของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นทิวลิปที่ได้ชื่อว่ามีราคาสูงที่สุดที่ขายระหว่างความคลั่งทิวลิป]]
 
คำอธิบายของแม็คเคย์ถึงพฤติกรรมอันไม่มีเหตุผลของมวลชนไม่มีผู้ใดค้านและตรวจสอบมาจนกระทั่งถึงคริสต์ทศวรรษ 1980<ref>{{Harvnb|Garber|1989|p=535}}</ref> แต่การค้นคว้าเรื่องความคลั่งทิวลิปตั้งแต่นั้นมาโดยเฉพาะจากผู้สนับสนุน[[สมมติฐานประสิทธิภาพของตลาด]]<ref>{{Harvnb|Kindleberger|2005|p=115}}</ref> ผู้ไม่มีความเชื่อมั่นในทฤษฎีฟองสบู่จากการเก็งกำไรโดยทั่วไปตั้งข้อเสนอว่า เรื่องราวของความคลั่งทิวลิปเป็นเรื่องที่ไม่สมบูรณ์และไม่ถูกต้อง ในการวิจัยทางวิชาการในบทวิจัย “ความคลั่งทิวลิป” โดยแอนน์ โกลด์การ์ ตั้งข้อเสนอว่าเหตุการณ์นี้จำกัดอยู่แต่เฉพาะกับ “กลุ่มคนที่เกี่ยวข้องจริงเพียงจำนวนน้อย” และเรื่องต่างๆ ที่ได้รับบันทึกในช่วงนั้นก็เป็นเรื่องที่ “มีพื้นฐานมาจากงาน[[โฆษณาชวนเชื่อ]]ร่วมสมัยเพียงชิ้นสองชิ้น และจากเอกสารที่เป็นงาน[[โจรกรรมทางวรรณกรรม]]เสียเป็นส่วนใหญ่”<ref name=Kuper>Kuper, Simon "[http://www.ft.com/cms/s/50e2255e-0025-11dc-8c98-000b5df10621.html Petal Power]" (Review of {{Harvnb|Goldgar|2007}}), “Financial Times”, May 12, 2007. Retrieved on July 1, 2008.</ref> ปีเตอร์ การ์เบอร์ค้านว่าลูกโป่งระเบิดครั้งนี้ “ไม่มีความหมายมากไปกว่าเกมที่เล่นกันในวงเหล้าระหว่างฤดูหนาวโดยประชาชนที่ต้องประสบกับโรคระบาดที่ใช้ความตื่นตัวของตลาดทิวลิปเป็นเครื่องมือ”<ref>{{Harvnb|Garber|2000|p=81}}</ref>