ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำคล้องจอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dhanitar (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มแหล่งอ้างอิง จากหนังสือ "การประพันธ์โคลงสี่สุภาพ", กรมศิลปากร, พ.ศ. 2548
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12:
ในจินดามณี ฉบับพระโหราธิบดี อธิบายสัมผัสบังคับของโคลงสี่สุภาพไว้ว่า
 
{{โคลงสี่สุภาพ
::::::|ให้ปลายบาทเอกนั้น |มาฟัด
:::|ห้าที่บทสองวัจน์ |ชอบพร้อง
:::|บทสามดุจเดียวทัด |ในที่ เบญจนา
:::|ปลายแห่งบทสองต้อง |ที่ห้าบทหลัง}}
 
'''สัมผัสไม่บังคับ''' หรือ "สัมผัสใน" หมายถึงสัมผัสที่มิได้กำหนดไว้ในบังคับของคำประพันธ์ จะมีหรือไม่มีก็ได้ แต่ถ้ามีจะเพิ่มให้ไพเราะขึ้นตามความเหมาะสม ในคำประพันธ์ประเภทกลอนก็มีศัพท์ที่ใช้เรียกสัมผัสในลักษณะต่างๆ ไว้ ถ้าจะอนุโลมนำมาเทียบเคียงคือ