ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงสี่สุภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Dhanitar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{เก็บกวาด}}
{{ฉันทลักษณ์ไทย}}
โคลงเป็นรูปแบบในการประพันธ์งานวรรณศิลป์อย่างหนึ่งซึ่งนิยมมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาตอนต้น โคลงสี่จำแนกเป็นหลายชนิด เช่น โคลงดั้น โคลงสุภาพ โคลงจิตรลดา โคลงวิชชุมาลี เป็นต้น แต่ที่แพร่หลายที่สุดคือโคลงสี่สุภาพ (จากหนังสือ คำประพันธ์โคลงสี่สุภาพ, กรมศิลปากร พ.ศ.2548 , นายบุญเตือน ศรีวรพจน์ ผู้เรียบเรียง)
 
'''โคลงสี่สุภาพ'''เป็นคำประพันธ์ประเภท[[ร้อยกรอง]]ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปรากฏใน[[วรรณคดีไทย]]มานานแล้ว วรรณคดีไทยฉบับที่เก่าและมีชื่อเสียงมากฉบับหนึ่งคือ "[[ลิลิตพระลอ]]" มีโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งถูกยกมาเป็นบทต้นแบบที่แต่งได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ คือนอกจากจะมีบังคับสัมผัสตามที่ต่าง ๆ แล้ว ยังบังคับให้มี[[บังคับเอกโท|วรรณยุกต์เอกโท]]ในบางตำแหน่งด้วย กล่าวคือ มีเอก 7 แห่ง และโท 4 แห่ง เรียกว่า เอกเจ็ดโทสี่
 
== การประพันธ์โคลงสี่สุภาพ ==
การประพันธ์โคลงาสุภาพเป็นประณีตศิลป์แขนงหนึ่งซึ่งอาศัย ที่ใช้ถ้อยคำตัวอักษรเป็นสื่อแสดงความคิดของผู้สร้างสรรค์ ซึ่งต้องการสะท้อนอารมณ์สะเทือนใจและก่อให้ผู้อ่านคล้อยตามไปด้วย ผู้อ่านต้องรับรู้ความงามด้วยใจโดยตรง ดังนั้นผู้สร้างสรรค์งานวรรณศิลป์จึงต้องช่างสังเกต รู้จักพินิจพิจารณ์ พิจารณามองเห็นจุดที่คนทั่วไปอื่นมองไม่เห็นข้ามหรือคาดไม่ถึง และถ่ายทอดออกมาด้วยใช้ถ้อยคำที่ละเมียดละไม ผลงานนั้นจึงจะทรงคุณค่า
 
'''สิ่งที่ผู้ประพันธ์โคลงสี่สุภาพพึงมี'''
เส้น 17 ⟶ 16:
 
 
== รูปแบบของลักษณะโคลงสี่สุภาพ ==
 
คณะของโคลงสี่สุภาพ คือ บทหนึ่ง มี 4 บาท (เขียนเป็น 4 บรรทัด) 1 บาทแบ่งออกเป็น 2 วรรค โดยวรรคแรกกำหนดจำนวนคำไว้ 5 คำ ส่วนวรรคหลัง ในบาทที่ 1,2 และ 3 จะมี 2 คำ (ในบาทที่ 1 และ 3 อาจเพิ่มสร้อยได้อีกแห่งละ 2 คำ) ส่วนบาทที่ 4 วรรคที่ 2 จะมี 4 คำ รวมทั้งบท มี 30 คำ และเมื่อรวมสร้อยทั้งหมดอาจเพิ่มเป็น 34 คำ
เส้น 56 ⟶ 55:
|๐ เอก ๐ ๐ โท|เอก โท ๐ X}}
 
โคลงสี่สุภาพที่ถือว่าเป็นโคลงแบบ คือมีรูปวรรณยุกต์ตรงตามบังคับนั้นมีตัวอย่างอยู่ในวรรณคดีหลายเรื่อง เช่น ลิลิตพระลอ โคลงนิราศนรินทร์ โคลงนิราศพระประธม เป็นต้น ตัวอย่างจากหนังสือจินดามณี พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงษาธิราชสนิท ว่าดังนี้
 
{{โคลงสี่สุภาพ
เส้น 126 ⟶ 125:
18. '''เฮย''' ใช้เน้นความ''เห็นคล้อยตามข้อความที่กล่าวหน้าสร้อยคำนั้น'' เฮย มาจากคำเขมรว่า "เหย" แปลว่า "แล้ว" จึงน่าจะมีความหมายว่า ''เป็นเช่นนั้นแล้ว'' ได้เช่นกัน
 
นอกจากนี้มีคำสร้อยที่เรียกว่า '''"สร้อยเจตนัง"''' คือใช้ตามใจกวี ไม่ควรหลีกเลี่ยงใช้ในงานกวีนิพนธ์ที่เป็นพิธีการ และหาตัวอย่างได้น้อยเนื่องจากไม่นิยมกันดังกล่าว
 
::::::::::"หายเห็นประเหลนุช นอนเงื่อง งงง่วง" ''โคลงนิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย''