ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''กาลโยค''' ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายไว้ว่า "การกำหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ" จากความหมายดังกล่าว ทำให้กาลโยคมีบทบาทสำคัญในการหาฤกษ์ยามทำการมงคล
 
เส้น 87 ⟶ 86:
* หาเกณฑ์อุบาทว์ เอา (๑๓๖๙ × ๑๐) + ๒ = ๑๓๖๙๒ ลัพธ์เป็นเกณฑ์
* เอาเกณฑ์อุบาทว์ตั้งลงเป็น ๕ ฐาน
** ฐานวัน ๑๓๖๙๒ ÷ ๗ = ๑๙๕๖ เศษ ๐ (หารลงตัว จึงถือว่า ๗ เป็นวันอุบาทว์) *
** ฐานยาม ๑๓๖๙๒ ÷ ๘ = ๑๗๑๑ เศษ ๔ (จึงถือว่า ๔ เป็นยามอุบาทว์)
** ฐานฤกษ์ ๑๓๖๙๒ ÷ ๗ = ๕๐๗ เศษ ๓ (จึงถือว่า ๓ เป็นฤกษ์อุบาทว์)
** ฐานราศี ๑๓๖๙๒ ÷ ๗ = ๑๑๔๑ เศษ ๐ (หารลงตัว จึงถือว่า ๐ เป็นราศีอุบาทว์) *
** ฐานดิถี ๑๓๖๙๒ ÷ ๗ = ๔๕๖ เศษ ๑๒ (หารลงตัว จึงถือว่า ๑๒ เป็นดิถีอุบาทว์)
 
เส้น 138 ⟶ 137:
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ทองย้อย แสงสินชัย, นาวาเอก. พฤศจิกายน ๒๕๔๗. "การอ่านกาลโยค." นาวิกศาสตร์. เข้าถึงได้จาก http://www.navy.mi.th/navic/document/881009a.html (วันที่ค้นข้อมูล : ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๐)
* [http://www.mahamodo.com/modo/astrology/astrology2.htm บทความ 'คัมภีร์กาลโยค' โดยมหาหมอดูดอตคอม] (วันที่ค้นข้อมูล : ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๐)
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:โหราศาสตร์|กาลโยค]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กาลโยค"