ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เชียร์ลีดดิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายจากหลายหน้ามารวม เขียนโดยผู้อื่น
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Cheer leader.jpg|thumb|250px|ภาพเชียร์ลีดเดอร์ แสดงการเชียร์โดยยืนบนมือของเพื่อนร่วมทีมเชียร์]]
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพไฟล์:CheerGeorgia leaderTech cheerleaders 2006.jpg|thumb|250px|ภาพเชียร์ลีดเดอร์ของจอร์เจียเทค แสดงการเชียร์โดยยืนบนมือของเพื่อนร่วมทีมเชียร์ขณะที่แข่งกีฬาบาสเกตบอล]]
 
'''เชียร์ลีดเดอร์'''(cheerleader) หรือ '''ผู้นำเชียร์''' คือผู้ที่ทำหน้าที่ในการนำฝูงชนให้มีความฮึกเหิม โห่ร้อง ตะโกน ร้องเพลง ให้กำลังใจ เชียร์นักกีฬาที่กำลังทำการแข่งขัน เพื่อให้นักกีฬามีกำลังใจสู้ในการแข่งขัน ในประเทศไทยเน้นการให้จังหวะ รหัส สัญญาณ ให้กองเชียร์ร้องเพลง พร้อมเพรียง เสียงดัง และ เกิดความสนุกนานในการชมการแข่งขัน ส่วนเชียร์ลีดเดอร์ในบางประเทศถือเป็นนักกีฬาเช่นกัน เรียกว่ากีฬา '''เชียร์ลีดดิง''' (cheerleading)ซึ่งประกอบไปด้วยหลายแขนง ประกอบไปด้วย [[การต่อตัว]] การเชียร์ประกอบท่าท่างหรือที่เรียกว่าเชียร์และแชนท์ [[ยิมนาสติก]] การทำงานร่วมกันเป็นทีม [[การเต้น]] เป็นกีฬาที่ให้ทั้งความสนุกสนาน ความตื่นเต้น เนื่องจากทั้งหมดนี้มีการใช้ดนตรีเข้ามาประกอบจังหวะ ซึ่งประวัติศาสตร์ของกีฬาประเภทนี้มีมายาวนานแล้ว และปัจจุบันทุกประเทศเริ่มให้ความสนใจกีฬาประเภทนี้กันมากขึ้น
 
'''เชียร์ลีดเดอร์''' ({{lang-en|cheerleader}}) หรือ '''ผู้นำเชียร์''' คือผู้ที่ทำหน้าที่ในการนำฝูงชนให้มีความฮึกเหิม โห่ร้อง ตะโกน ร้องเพลง ให้กำลังใจ เชียร์นักกีฬาที่กำลังทำการแข่งขัน เพื่อให้นักกีฬามีกำลังใจสู้ในการแข่งขัน ในประเทศไทยเน้นการให้จังหวะ รหัส สัญญาณ ให้กองเชียร์ร้องเพลง พร้อมเพรียง เสียงดัง และ เกิดความสนุกนานในการชมการแข่งขัน ส่วนเชียร์ลีดเดอร์ในบางประเทศถือเป็นนักกีฬาเช่นกัน เรียกว่ากีฬา '''เชียร์ลีดดิง''' (cheerleading)ซึ่งประกอบไปด้วยหลายแขนง ประกอบไปด้วย [[การต่อตัว]] การเชียร์ประกอบท่าท่างหรือที่เรียกว่าเชียร์และแชนท์ [[ยิมนาสติก]] การทำงานร่วมกันเป็นทีม [[การเต้น]] เป็นกีฬาที่ให้ทั้งความสนุกสนาน ความตื่นเต้น เนื่องจากทั้งหมดนี้มีการใช้ดนตรีเข้ามาประกอบจังหวะ ซึ่งประวัติศาสตร์ของกีฬาประเภทนี้มีมายาวนานแล้ว และปัจจุบันทุกประเทศเริ่มให้ความสนใจกีฬาประเภทนี้กันมากขึ้น
 
== ประวัติศาสตร์ของเชียร์ลีดเดอร์ ==
กีฬาเชียร์ลีดเดอร์เริ่มแรกเมื่อปี 1898[[พ.ศ. 2441]] ที่ [[มหาวิทยาลัยมินนิโซตา]] เริ่มจากการนั่งดูเกมส์การแข่งขัน[[อเมริกันฟุตบอล]] และจากนั้นก็เริ่มมีผู้คนออกมาตะโกนร้องเชียร์ไปเรื่อยๆเรื่อย ๆ แล้วแต่ละโรงเรียนก็เริ่มออกมาเชียร์กันมากมาย
: ''ดูบทความหลักที่'' [[ประวัติของเชียร์ลีดเดอร์]] และ [[ประวัติความเป็นมาเชียร์ลีดเดอร์ไทย|ประวัติในประเทศไทย]]
 
จากนั้นก็มีผู้ชายคนหนึ่งออกไปที่ข้างหน้าสนาม ยืนต่อหน้าฝูงชนแล้วก็เริ่มตะโกนร้องว่า "Rah, Rah, Rah! Sku-u-mar, Hoo-Rah! Hoo-Rah! Varsity! Varsity! Varsity, Minn-e-So-Tah!" การกระทำของเป็นที่สนใจของคนดูเป็นอย่างมาก และทุกคนก็ตะโกนร้องเชียร์อย่างเต็มที่ไปกับเขาด้วย ผู้ชายคนนี้คือ [[จอห์นนี แคมป์เบล]] (Johnny Campbell) และเขาก็กลายเป็นหนึ่งในเชียร์ลีดเดอร์คนแรกของโลก<ref>Neil, Randy L.; Hart, Elaine (1986), The Official Cheerleader's Handbook (Revised Fireside Edition 1986 ed.), Simon & Schuster, ISBN 0-671-61210-7</ref>
กีฬาเชียร์ลีดเดอร์เริ่มแรกเมื่อปี 1898 ที่ [[มหาวิทยาลัยมินนิโซตา]] เริ่มจากการนั่งดูเกมส์การแข่งขัน[[อเมริกันฟุตบอล]]และจากนั้นก็เริ่มมีผู้คนออกมาตะโกนร้องเชียร์ไปเรื่อยๆ แล้วแต่ละโรงเรียนก็เริ่มออกมาเชียร์กันมากมาย
 
ชมรม Pep Club ถือกำเนิดขึ้นมาครั้งแรกประมาณปี [[พ.ศ. 2423]] ที่ [[มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]] เมื่อ Thomas Peebler ได้นำชายหกคนไปนำเชียร์ข้างสนาม การเชียร์ของเขาคือ "Ray, Ray, Ray! TIGER, TIGER, TIGER, SIS, SIS, SIS! BOOM, BOOM, BOOM! Aaaaah! PRINCETON, PRINCETON, PRINCETON!" และก็ได้ยินเรื่อยมาตลอดการแข่งขันฟุตบอล
ส่วนในประเทศไทยนั้น เชียร์ลีดเดอร์ไทยมีประวัติความเป็นมาของตัวเอง สันนิษฐานว่าแรกเริ่มมาจากการ นำร้องเพลงเชียร์และแปรอักษรหน้ากองเชียร์ ต่อมาได้ประยุกต์ท่าทางการคุม จังหวะเพลงของคอนดักเตอร์ผู้คุมวงดนตรีเข้ามาใช้
 
การตะโกนของ Peebler ได้ย้ายมาที่มหาวิทยาลัยแห่งมินเนโซตา ตามเจ้าตัวในปี พ.ศ. 2441 ซึ่งเป็นปีเดียวกับที่ Johny Campbell ได้กระโดดออกไปยืนหน้าผู้คนและเริ่มการเชียร์ของเขาเอง ซึ่งมันก็คือที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้เองที่เป็นที่เริ่มต้นกีฬาเชียร์ลีดดิ้ง (Cheerleading) ให้เป็นรูปเป็นร่าง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเชียร์ลีดเดอร์ก็ทำการเชียร์สนับสนุนทีมกีฬาอื่น ๆ เรื่อยมา
 
จะด้วยเหตุผลเดียวอันนี้หรือว่าอย่างอื่นด้วยไม่ทราบ บางโรงเรียนหรือว่าบางองค์กรขาดสปิริต อย่างเช่นงานชุมนุมบางงาน ครูจากฝ่ายพละชอบทำเสียงต่ำๆ พึมพัมๆ น่าเบื่ออยู่ในลำคอชวนพาท่านให้ผู้ชมง่วงนอน รวมไปถึงทีมกีฬาที่ดูน่าเบื่อตั้งแต่ถูกแนะนำตัวก่อนที่ลงเล่นแล้ว ไม่มีวงดนตรี ไม่มีการเอนเตอร์เทน ไม่มีการเชียร์...ไม่มีอะไรน่าตื่นเต้นเกิดขึ้นมาเลย เชียร์ลีดดิ้ง (Cheerleading) สามารถที่จะเพิ่มสปิริตเข้าไปในงานนั้นๆได้อย่างมากมาย การจัดการทีมอาจจะใช้เวลาแค่เพียงนิดเดียวแต่ว่าจะก็ต้องฝึกซ้อมอย่างหนักและยาวนาน แต่ว่าเพียงแค่การแสดงเพียงครั้งเดียวของเชียร์ลีดเดอร์นั้นก็สามารถที่จะเพิ่มความน่าสนใจเข้าไปในงานชุมนุมและเกมส์กีฬาได้อย่างดี และเป็นความจริงที่ว่าทีมเชียร์มักจะทำอะไรที่แตกต่างขึ้นในโรงเรียน อย่างเช่นว่า ลายพิมพ์เท่ห์ๆ บนเสื้อที่เขียนว่า "ขาดเชียร์ลีดเดอร์ มันก็เป็นแค่เกมส์ธรรมดา" คนส่วนใหญ่ที่มางานกีฬาก็เพื่อที่จะชมเกมส์ บางคนก็จะมาเพื่อเอนเตอร์เทนและสร้างความน่าตื่นเต้นน่าสนใจให้กับงาน เมื่อคุณทราบอย่างนี้แล้ว งานที่ปราศจากการเอนเตอร์เทนเมนท์และไม่รวมเอาคนดูเข้าไปด้วย งานแข่งกีฬาก็มักอาจจะออกมาแบบจืดชืดเสมอ
 
ในญี่ปุ่นมีกลุ่มที่ทำหน้าที่นำกองเชียร์อยู่สองกลุ่ม คือ โอเอ็นดัน หรือ กลุ่มนำเชียร์ กับกลุ่มเชียร์ลีดเดอร์แบบในอเมริกา แรกเริ่มเป็นการรับอิทธิพลเข้ามาพร้อมกับกีฬาจากประเทศทางตะวันตก ในช่วง[[สมัยเมจิ]] (ค.ศ. 1868-1921) และหลังจากนั้นจากช่วงปี ค.ศ. 1890 เริ่มเกิดมีกลุ่มนำเชียร์ แต่งตัวเครื่องแบบนักเรียน นำเชียร์ด้วยการร้องตะโกนเพลง เชียร์ประกอบกับการตีกลอง โบกธงประจำสถาบัน ทำหน้าที่กระตุ้นให้กำลังใจในการแข่งขันกีฬา
 
อีกด้านหนึ่ง กล่าวกันว่าเริ่มจากสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการจัดตั้งกลุ่มคนขึ้นเพื่อร้องเพลงปลุกขวัญให้กำลังใจสำหรับ[[นักบินกามิกาเซ]] ซึ่งจะต้องนำเครื่องบินบรรทุกระเบิดบินพุ่งชนศัตรูแล้วเสียชีวิต จากนั้นได้กลายมาเป็นลักษณะการนำเชียร์ปลุกใจนักกีฬา โดยจะนำให้กองเชียร์เคาะจังหวะ สัญญาณ ตะโกนเชียร์พร้อม ๆ กัน โดยลักษณะท่าทางการนำเชียร์จะนำมาจากการแสดงคาบุกิอันเป็นศิลปะการแสดงดั้งเดิมของญี่ปุ่น ประกอบกับท่าทางของกีฬา[[ซูโม่]]. กีฬาที่นิยมใช้ทีมโอเอ็นดัน ได้แก่ [[เบสบอล]] และแข่งพายเรือ ส่วนเชียร์ลีดเดอร์เป็นการรับเข้ามาจากอเมริกาประมาณ ค.ศ. 1987 โดยยึดรูปแบบตามอเมริกา และมีการจัดการแข่งขันขึ้นมาเป็นประจำทุกปี ปัจจุบันการเชียร์ในญี่ปุ่นจะเป็นการร่วมกัน ระหว่างสองชมรม คือ โอเอ็นดัน และ เชียร์ลีดเดอร์แบบอเมริกา
 
== เชียร์ลีดเดอร์ในประเทศไทย ==
เชียร์ลีดเดอร์ไทยสันนิษฐานว่าแรกเริ่มมาจากการ นำร้องเพลงเชียร์และแปรอักษรหน้ากองเชียร์ ต่อมาได้ประยุกต์ท่าทางการคุม จังหวะเพลงของคอนดักเตอร์ผู้คุมวงดนตรีเข้ามาใช้ โดยในสมัยก่อน ผู้ทำการนำเชียร์ก็มักเป็นผู้ทำหน้าที่ต่าง ๆ หน้าแสตนด์เชียร์ไปด้วย จนภายหลังได้จัด ให้มีทีมเชียร์ลีดเดอร์แยกเฉพาะต่างหากเพื่อใช้ควบคุม จังหวะการร้องเพลง เชียร์โดยเฉพาะ ส่วนประวัติโดยละเอียดนั้นไม่มีการบันทึกไว้แน่นอน ได้แต่ สันนิษฐานว่าการเชียร์และแปรอักษรนั้นเริ่มจากการเชียร์ระหว่าง สี่โรงเรียน ในการแข่งขันฟุตบอลประเพณีจตุรมิตร ส่วนเชียร์ลีดเดอร์นั้น น่าจะเริ่มจาก [[งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์|การแข่งขันฟุตบอลประเพณีจุฬา-ธรรมศาสตร์]]
 
ปัจจุบันได้มีการนำท่าทางการเชียร์แบบสากลเข้ามาใช้ในบ้านเรามากขึ้น แต่ก็เป็นเพียงการ ประยุกต์ใช้เนื่องจากระบบการเชียร์ เพลงเชียร์ ของบ้านเราไม่เหมือนกับที่ต่างประเทศ ในอนาคตคงจะเป็นลักษณะ ผสมผสานกันกันมากกว่าที่จะเปลี่ยน ไปเป็นรูปแบบอย่างในต่างประเทศ
 
เชียร์แบบสากลเกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อประมาณ 12 ปีที่ผ่านมา (2536) ในครั้งแรกมีการจัดการแข่งขันเชียร์ลีดเดอร์ในระดับมัธยมศึกษา โดยมีผู้สนับสนุนคือไมโล ซึ่งจะเป็นการแข่งขันกีฬา มีกองเชียร์ เชียร์ลีดเดอร์แต่ละโรงเรียนมาประชันกัน มีทั้งการแข่งเชียร์ลีดเดอร์ไทย เชียร์ลีดเดอร์สากล (ซึ่งสมัยนั้นก็จะดูเหมือนเต้นประกอบเพลง) มีการนำกีฬายืดหยุ่นเข้ามาผสมผสานดูน่าตื่นตาเป็นอย่างมาก ต่อมาก็ได้มีการจัดการแข่งขันที่ซีคอนสแควร์ซึ่งได้พยายามพัฒนารูปแบบการแข่งขันให้เข้าไปสู่สากลมากที่สุด หลังจากนั้นก็มีการแข่งขันเชียร์ลีดเดอร์ Red Bull Extra Boom ซึ่งทางบริษัทมีความสนใจในกลุ่มกีฬา [[เอกซ์ เกม]] อยู่แล้ว และตามมาด้วยการแข่งขันเชียร์ลีดเดอร์ในโครงการ To Be Number 1 เป็นหนึ่งในโครงการที่สร้างให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และไกลห่างยาเสพติด
 
จะเห็นได้ว่าเยาวชน หันมาให้ความสนใจในกีฬาประเภทนี้เป็นอย่างมาก ซึ่งในอนาคตกีฬาประเภทนี้จะได้รับความสนใจยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีการควบคุมให้เยาวชนที่กำลังจะเล่นกีฬาเชียร์ลีดดิ้งนั้นเล่นอย่างไรให้ปลอดภัยที่สุด
 
=== ส่วนหนึ่งของทีมเชียร์ลีดดิ้งที่มีชื่อเสียง{{ใครกล่าว}} ===
* ทีมเชียร์ลีดเดอร์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
* [[ทีมเชียร์ลีดเดอร์มหาวิทยาลัยรังสิต]]
* ทีมเชียร์ลีดเดอร์ราชภัฏสวนดุสิต
* ทีมเชียร์ลีดเดอร์ราชภัฏศรีธนา พานิชยาการ
* ทีมเชียร์ลีดเดอร์กรุงเทพการบัญชี
* ทีมเชียร์ลีดเดอร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณทิตย์
 
== เชียร์ลีดเดอร์ในภาพยนตร์ ==
เส้น 25 ⟶ 49:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อทีมเชียร์ลีดเดอร์ในประเทศไทย]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:เชียร์ลีดเดอร์| ]]