ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัณฑนศิลป์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อน 1 การแก้ไขของ 125.27.115.187 ด้วยสจห.: โฆษณา/ไม่เป็นสารานุกรม/ทำลิงก์หาย
บรรทัด 7:
สถาบันแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนก็คือ [[คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร]] ซึ่งเดิมใช้ชื่อว่า ศิลปะตกแต่ง เปิดตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2499 ปัจจุบัน มีอายุครบ 50 ปี หรือกึ่งศตวรรษแล้ว
 
== ดูเพิ่ม ==
คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
* [[สถาปัตยกรรม]]
 
{{โครงศิลปะ}}
 
[[ar:تصميم داخلي]]
(Faculty of Decorate Arts Silpakorn University)
[[ca:Interiorisme]]
 
[[de:Innenarchitektur]]
 
[[en:Interior design]]
 
[[es:Interiorismo]]
 
[[fa:طراحی داخلی]]
 
[[he:עיצוב פנים]]
ถ้าน้องๆเดินผ่านข้างๆวัดพระแก้วด้านฝั่งท่าช้าง.... หรือเดินลัดเลาะ
[[it:Design degli interni]]
 
[[ja:インテリアデザイナー]]
 
[[pt:Design de interiores]]
มาจากปากทางเข้าวัดพระแก้ว น้องๆก็จะเห็นมหาวิทยาลัยเล็กๆ
[[ro:Design interior]]
 
[[ru:Дизайн интерьера]]
 
[[sk:Interiérový dizajn]]
อยู่ใต้เงาต้นไม้ที่ร่มรื่น
[[sr:Дизајн ентеријера]]
 
[[sv:Inredningsarkitekt]]
 
[[vi:Thiết kế nội thất]]
 
[[zh:室内设计]]
 
 
มหาวิทยาลัยเล็กๆแห่งนี้เป็นที่บ่มเพาะศิลปินหรือนักออกแบบใหญ่ๆ
 
 
ของไทยมาหลายต่อหลายรุ่น
 
 
 
 
 
คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นคณะที่ใครหลายๆคน
 
 
โดยเฉพาะที่อยากเรียนศิลปะและการออกแบบจะต้องพูดถึงเป็นคณะแรกๆ
 
 
และเป็นตัวเลือกในลำดับแรกๆเสมอๆ
 
 
 
 
 
ในทางกลับกัน การเป็นศิษย์ศิลปากร ก็ทำให้ผู้ใหญ่บางคนที่ไม่เข้าใจ
 
 
และไม่รู้จริง และไม่ "ใส่ใจ" ที่จะหาความรู้เพิ่มขึ้น
 
 
ก็คิดไปว่าพวกนี้ทำเป็นแต่วาดรูป.......หารู้ไม่ พวกเขาเล่านั้น
 
 
จบออกไปทำอะไรบ้าง
 
 
 
 
 
บ้างก็จบออกไปทำงานโฆษณาทำโฆษณา Tv ที่พวกผู้ใหญ่เล่านั่น
 
 
นั่งตาใสดูอยู่ทุกวัน
 
 
 
 
 
บ้างก็จบไปทำรายการบันเทิงที่ตาแก่ยัยแก่พวกนั้นติดกันทั่วบ้านทั่วเมือง
 
 
บางทีก็เป็นศิลปินใหญ่ บ้างก็จบออกไปออกแบบผลิตภัณฑ์ที่
 
 
พวกนั้นใช้กันอยู่ทุกวัน บางคนก็ไปออกแบบบ้าน ออกแบบภายใน
 
 
ออกแบบห้างให้เค้าเหล่านั้นเดินเล่น....... แต่ช่างมันเถิด
 
 
เค้าอาจจะไม่รู้จริงๆก็ได้
 
 
 
 
 
มีหลายๆคนชอบเรียกชื่อคณะนี้ผิด บางทีก็เข้าใจผิดๆว่า "มัณฑนศิลป์"
 
 
เป็นชื่อเรียก ของ "สาขาออกแบบตกแต่งภายใน" เพียงอย่างเดียวเท่านั้น
 
 
และหลายคนก็เข้าใจผิดอีกว่า "มัณฑนศิลป์ "
 
 
ไม่ได้มีที่ศิลปากรที่เดียว หากแต่ยังมีที่อื่นๆอีก
 
 
 
 
 
ซึ่งที่อื่นๆนั้นมีสาขาที่ "ใกล้เคียง" กับที่ คณะมัณฑนศิลป์มีก็จริงอยู่
 
 
เพียงแต่ไม่มากและ "สาขาไม่ครบเครื่อง" เท่า และอายุอานาม
 
 
ของคณะเหล่านั้นก็ยังไม่มากนัก..และที่สำคัญ
 
 
ไม่ได้ใช้คำเรียกคณะตนเองว่า "คณะมัณฑนศิลป์"
 
 
 
 
 
เพราะ "คณะมัณฑนศิลป์ มีที่ศิลปากรที่เดียว" !!
 
 
 
 
 
แต่ถ้าใครจะเข้าคณะนี้ บอกได้คำเดียวว่า ต้อง "โคตรขยัน" ครับ
 
 
และคณะนี้ไม่ “ปราณี” คนที่ชอบพูดว่า
 
 
 
 
 
"วาดรูปไม่เก่งแต่อยากเข้า" <-- แต่มันเข้าไม่ได้ เพราะดรออิ้งตกไง
 
 
"ทำคอมเก่ง แต่วาดรูปไม่ค่อยดีเท่าไหร่" <-- จ้างวิศวคอม คงเก่งกว่า
 
 
"วาดรูปพอใช้ได้ แต่ไม่เก่ง"<-- น้องที่อยู่ปอสามก็บอกอย่างงี้เหมือนกัน
 
 
 
 
 
เพราะ ถ้าวาดไม่เก่ง ยังไงๆก็ไม่ติด แน่ๆ 10000%
 
 
ไม่ว่าจะไปมั่ว ไปสอบเผื่อ ตามสถิติ.....ไม่เคยมีฟลุ๊ค เพราะคู่แข่งมากมาย
 
 
เพื่อนๆคู่แข่งที่ปฏิบัติเก่งๆ วาดรูปดีๆ จากโรงเรียนอาชีวะช่างศิลป์ต่างๆ
 
 
(ป.ว.ช.) ก็เยอะ (ดังนั้นใครที่ไม่เก่ง ก็ต้องขยันๆวาด แล้วมันก็เก่งเองแหละ.....ไม่มี
 
 
ใครเก่งมาแต่เกิดหรอก เด็กที่ติวๆมาก็เจอพวกที่ไม่เป็นเลยแล้วขยันฝึกจนสอบติด
 
 
ก็มีเยอะ)
 
 
 
 
 
คณะมัณฑนศิลป์ ศิลปากร จัดว่าเป็นคณะที่สอบปฏิบัติยากที่สุด และเข้มข้นที่สุด
 
 
ในระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยทางสายคณะที่เรียนทางศิลปะแล้ว
 
 
(ถ้าไม่นับคณะจิตรกรรมศิลปากร)
 
 
 
 
 
บางคนอาจจะไม่รู้ว่าที่ตัวเองอยากเข้าคณะนี้เพราะอะไร?
 
 
หรือที่เค้าฮิตๆจะเข้าที่นี่ เพราะอะไร?
 
 
 
 
 
• เพราะดังหรือเปล่า?
 
 
• หรือว่ามันดู Artist ดี?
 
 
....... แต่หลายๆคนที่รู้ประวัติของคณะนี้
 
 
ย่อมจะทำให้ยิ่งเพิ่มความอยากเข้ามากขึ้นไปอีก
 
 
 
 
 
คณะนี้เกิดขึ้นโดย อาจารย์ "โคราโด เฟโร"จี ประติมากรชาวอิตาเลียน ที่มีชื่อจริงว่า
 
 
"ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี"
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ท่านเกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2435
 
 
ในเขตซานโจวันนี (San Giovanni) เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี
 
 
อันเป็นเมืองที่รุ่งเรืองทางด้านศิลปะมากในสมัย เรเนซองส์ และเป็นเมืองที่ศิลปินเอก
 
 
ของโลกแจ้งเกิดขึ้นที่นี่ เช่น ดาวิชี / ราฟาเอล / มิเคลันเจโล เป็นต้น
 
 
 
 
 
ที่สำคัญเมื่ออายุ 23 ปี สามารถสอบผ่านเป็นศาสตราจารย์
 
 
จากราชวิทยาลัยศิลปแห่งนครฟลอเรนซ์
 
 
(The Royal Academy of Art of Florence) ดังนั้น
 
 
มหาวิทยาลัยที่ท่านตั้งขึ้นในประเทศไทย จึงมีความเข้มข้นหรือไม่ก็เทียบเคียง
 
 
ในระดับเดียวกันกับที่แอคคาเดมีของฟลอเรนซ์ที่ท่านเคยเจอมา
 
 
 
 
 
ปี พ.ศ. 2466 ท่านได้ชนะการประกวดการออกแบบเหรียญเงินตราสยาม
 
 
ที่จัดขึ้นในยุโรป ด้วยเหตุนี้จึงเดินสู่แผ่นดินสยามเพื่อเข้ามารับราชการเป็น
ช่างปั้นประจำกรมศิลปากร ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.4)
 
 
 
 
 
เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2466 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์สอนวิชาช่างปั้นหล่อ
แผนกศิลปากร สถานแห่งราชบัณฑิตสภา
 
 
 
 
 
ต่อมา ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2485 ประเทศอิตาลียอมพ่ายแพ้แก่
ฝ่ายสัมพันธมิตร ชาวอิตาเลียนในประเทศไทยตกเป็นเชลยของประเทศเยอรมนีกับญี่ปุ่น
แต่รัฐบาลไทยขอควบคุมตัวท่านศาสตราจารย์ คอร์ราโด เฟโรจี ไว้เอง
 
 
และหลวงวิจิตรวาทการได้ดำเนินการทำเรื่องราวขอโอนสัญชาติจาก
 
 
อิตาเลียนมาเป็นสัญชาติไทย โดยเปลี่ยนชื่อของท่านให้มาเป็น
 
 
"นายศิลป์ พีระศรี" เพื่อคุ้มครองท่านไว้ ไม่ต้องไปถูกเกณฑ์เป็นเชลยศึก
 
 
ให้สร้างทางรถไฟสายมรณะและสะพานข้ามแม่น้ำแคว เมืองกาญจนบุรี
 
 
 
 
 
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ถึงแก่กรรมที่โรงพยาบาลศิริราช
 
 
เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 รวมสิริอายุได้ 69 ปี 7เดือน 29 วัน
 
 
 
 
 
มาพูดถึงประวัติการก่อตั้งมหาวิทยาลัยกันต่อ
 
 
 
 
 
เมื่อโรงเรียนศิลปากรได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2486
 
 
ได้เปิดสอนเพียง คณะเดียว คือ คณะจิตรกรรมและ ประติมากรรม
 
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 ได้ตั้งคณะสถาปัตยกรรมไทยและโบราณคดี ตามลำดับ
 
 
แต่เนื่องจาก คณะจิตรกรรมและประติมากรรมในขณะนั้นมีวิชา
 
 
การตกแต่ง (Decoration) อยู่ในหลักสูตรด้วย และนักศึกษาที่จบการศึกษารุ่นแรกๆ
 
 
บางคน ได้ออกไปทำงาน ทางด้านการตกแต่งภายใน จนประสบความสำเร็จ
 
 
ในการประกอบอาชีพ พอสมควร กอปรกับสังคมไทยในขณะนั้น มีแนวโน้มให้เห็นว่า
 
 
ต้องการผู้มีความรู้ ความสามารถในสาขาวิชาการออกแบบตกแต่งมากขึ้น
 
 
 
 
 
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งคณบดี คณะจิตรกรรมและประติมากรรม
 
 
จึงได้หารือ ร่วมกับศาสตราจารย์ ม.จ.ยาใจ จิตรพงศ์
 
 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ม.ร.ว.พูนสวาท กฤดากร และ ม.จ.เฉลิมสมัย กฤดากร
 
 
ซึ่งเป็นข้าราชการในกรมศิลปากรด้วยกันและกำลังสอนวิชาศิลปะการตกแต่ง
 
 
อยู่ในคณะจิตรกรรม จัดทำโครงการจัดตั้ง
 
 
คณะและหลักสูตรคณะมัณฑนศิลป์ขึ้น จนบรรลุผลสำเร็จเป็นคณะวิชาที่ 4 ของ
 
 
มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเปิดรับนักศึกษารุ่นแรก ในปีการศึกษา 2499
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ดอกแก้ว สัญลักษณ์ของคณะ
 
 
 
 
 
วันนี้พี่จะพาพวกเรามาทำความรู้จักคณะมัณฑนศิลป์กันว่ามีสาขาอะไรกันบ้าง
 
 
 
 
 
คณะมัณฑนศิลป์ เปิดสอนในหลักสูตรศิลปบัณฑิต (ศป.บ.) หลักสูตรการศึกษา 4 ปี
 
 
ใน 7 สาขาวิชา คือ
 
 
• สาขาวิชาการออกแบบภายใน
 
 
• สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์
 
 
• สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
 
 
• สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา
 
 
• สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา
 
 
• สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ
 
 
• สาขาวิชาการออกแบบเครื่องแต่งกาย ปี 2551 เริ่มรับเด็กที่จบมัธยม 6 แล้ว
 
 
 
 
 
ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน
 
 
ภาควิชาการออกแบบตกแต่ง เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบตกแต่ง
 
 
ภายในอาคารที่พักอาศัยและ อาคารเพื่อธุรกิจต่างๆ ศึกษาโครงสร้างอาคาร
 
 
เทคนิคในการก่อสร้าง การจัด เนื้อที่ใช้สอย การออกแบบ และการจัดวางเครื่องเรือน
 
 
ศึกษา ศิลปะการตกแต่ง ทั้งที่เป็นลักษณะศิลปกรรมไทย และแนวนิยมทางตะวันออก และตะวันตก รวมถึงมีความสามารถในการบริหาร งานออกแบบ และเข้าใจในเรื่องการตลาด การประมาณราคา และหลักการ ดำเนินการออกแบบตกแต่ง
 
 
 
 
 
ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์
 
 
ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ เรียนรู้ทักษะด้านการออกแบบเลขนศิลป์สิ่งพิมพ์
 
 
การออกแบบเลขนศิลป์สิ่งแวดล้อม เลขนศิลป์ของภาพนิ่ง ภาพยนตร์ วีดีโอ
 
 
การสร้างภาพประกอบ และการออกแบบโฆษณา ประยุกต์ใช้ศิลปะให้สอดคล้อง
 
 
กับเทคนิควิทยาทางการออกแบบ มีหลักและวิธีการต่างๆ
 
 
ในการดำเนินธุรกิจการออกแบบนิเทศศิลป์
 
 
 
 
 
ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์
 
 
ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
 
 
ความรู้พื้นฐานในศิลปะ เทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคม วัสดุและกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
 
 
การวิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ การทำหุ่นจำลอง และการนำเสนอแบบ
 
 
พฤติกรรมผู้บริโภคและการตลาด การประมาณราคาและการจัดการ
 
 
รวมทั้งการออกแบบอื่นๆเช่นการออกแบบหีบห่อและเลขนศิลป์ การออกแบบงานพลาสติก และ งานโลหะ
 
 
 
 
 
ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา
 
 
การออกแบบสร้างสรรค์ศิลปประยุกต์ ประติมากรรมประยุกต์ ภาพพิมพ์ประยุกต์
 
 
ศิลปะไทย ประเพณี และศิลปสิ่งทอ และให้รู้จักคิด วิเคราะห์
 
 
 
 
 
ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา
 
 
ศึกษาการปั้น การสร้างพิมพ์ และการหล่อ เทคนิคการตกแต่ง การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา
 
 
ผลิตเครื่องเคลือบดินเผา รวมถึงการจัดและบริหารงานอุตสาหกรรมและการตลาด
 
 
ในธุรกิจเครื่องเคลือบดินเผา
 
 
 
 
 
ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ
 
 
ศึกษาการออกแบบ โดยอาศัยความรอบรู้ด้านสุนทรียศาสตร์ ศิลปศาสตร์การออกแบบ
 
 
ศิลปวัฒนธรรม และเครื่องประดับของไทย รวมถึงเศรษฐกิจ สังคม การตลาด
 
 
การจัดการ เทคโนโลยี จรรยาบรรณที่ดีงาม
 
 
เปิดสอนสาขาการอกกแบบเครื่องประดับ เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถในการออกแบบ
 
 
โดยอาศัยความรอบรู้ด้านสุนทรียศาสตร์ ศิลปศาสตร์การออกแบบ ศิลปวัฒนธรรม และเครื่องประดับของไทย
 
ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย
 
 
ล่าสุดก็เปิดแล้วครับ แบบ 4 ปี ปริญญาตรี
 
 
 
 
 
ศิษย์เก่าก็เช่น.......
 
 
* ผศ.มาโนช กงกะนันทน์
 
 
* นนทรีย์ นิมิบุตร ผู้กำกับภาพยนตร์
 
 
* ยุทธเลิศ สิปปภาค ผู้กำกับภาพยนตร์
 
 
* คมภิญญ์ เข็มกำเนิด ผู้กำกับภาพยนตร์แอนิเมชัน ก้านกล้วย
 
 
* สุรเชษฐ์ เฑียรบุญเลิศรัตน์ อะนิเมะเตอร์ (ปักษาวายุ)
 
 
* ชัยพร พานิชรุทติวงศ์ อะนิเมะเตอร์ (ปังปอนด์)
 
 
* วิศิษฐ์ ศาสนเที่ยง ผู้กำกับภาพยนตร์
 
 
* มล.ภาวิณี สันติสิริ
 
 
* ไพโรจน์ ธีระประภา
 
 
 
ระบบการสอบในปัจจุบัน
คณะมัณฑนศิลป์ ศิลปากร มีสอบตรงเท่านั้น เดือนตุลาคม เน้นทักษะมากๆ
 
 
ต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก ขยันฝึกและเหนื่อยเกินจินตนาการ แบ่งเป็นสองวิชาคือ
วาดเส้นมัณฑนศิลป์ และออกแบบเฉพาะสาขา
• วาดเส้นมัณฑนศิลป์ 30% เกณฑ์ขั้นต่ำ 50% (โหดมาก)
• วิชาออกแบบเฉพาะสาขา 30% เกณฑ์ขั้นต่ำ 50% (โหดมาก)
 
 
• GPAX 4 ภาคการศึกษา ไม่คิด
• วิชาความรู้ขั้นพื้นฐาน 2 กลุ่มวิชา 40% ยากกว่า ONET
- กลุ่มวิชาภาษาและสังคม (ไทย สังกฤษ สังคม รวม 300 คะแนน) เกณฑ์ขั้นต่ำ 30%
- กลุ่มวิชาวิทย์และคณิต (วิทย์ คณิต) เกณฑ์ขั้นต่ำ 30% (โหดมาก)
 
 
 
 
 
ลักษณะข้อสอบ
 
 
- วาดเส้นมัณฑนศิลป์ ให้วาดเส้นหน้าคน หรือมือ หรือของใกล้ตัว บางปีเคยออกให้วาดจากรูปภาพ เน้นทักษะมากๆ
 
 
- ออกแบบเฉพาะสาขา เน้นทักษะการออกแบบและนำเสนองานมากๆ
- เช่น ออกแบบภายใน ให้ออกแบบห้อง หรือห้างร้าน หรือ KIOSK โดยที่จะต้องเขียนทั้งทัศนียภาพ แนวคิด และผังด้วย
ส่วนออกแบบอื่นๆ จะทยอย UPDATE น้นทักษะการออกแบบ และนำเสนองานมากๆ
 
 
 
เกณฑ์อยู่ที่ 50 คะแนนครับ สำหรับ ระดับคะแนนที่ปลอดภัยในการสอบติดคือ 80-85 ขึ้นไปครับ (ได้ค่อนข้างยากครับ โดยเฉพาะ Drawing) สมมติว่าหากใด้คะแนน ออกแบบนิเทศศิลป์ได้ 100 คะแนน แต่วาดเส้นได้ 49 ก็ไม่มีสิทธิ์ติด
 
 
 
 
 
ระยะเวลาที่แนะนำให้เตรียมตัวอย่างน้อย 12-24 เดือน
วิชาที่แนะนำให้ติว
 
 
• วาดเส้นมัณฑนศิลป์ BASIC 1-2 + ADV.1-2 หรือเรียนไปเรื่อยๆไม่มีกำหนดจนกว่าจะเก่ง
• ออกแบบนิเทศศิลป์ BASIC 1-2 + ADV. 1-2 หรือเรียนไปเรื่อยๆไม่มีกำหนดจนกว่าจะเก่ง
 
 
 
ไว้จะมาเล่าให้ฟังอีก