ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัญญา (ศาสนาพุทธ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 14:
 
<!--ย้ายมารวม -->
หมายถึง ความทรงจำมี๖ คือ ๑.จักขุสัญญา สิ่งที่ทรงจำทางตา (ภาพ) ๒.โสตสัญญา (เสียง) สิ่งที่ทรงจำทางหู ๓.ฆานะสัญญา สิ่งที่ทรงจำทางจมูก (กลิ่น) ๔.ชิวหาสัญญา สิ่งที่ทรงจำทางลิ้น (รสชาติ) ๕.กายสัญญา สิ่งที่ทรงจำทางกาย (ประสาทสัมผัส) ๖.มนสัญญา สิ่งที่ทรงจำทางใจ (มโนสิ่งทรงจำทางใจมี๓คือ 1.จำเวทนา 2.จำสัญญา 3.จำสังขาร๓ สังขาร ๓ คือ๑. กายสังขาร (การบังคับร่างกาย) ๒.วจีสังขาร (ความคิดตรึก ตรอง) ๓.จิตตะสังขาร (อารมณ์ที่จรเข้ามาในใจ)
ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าสัญญานั้นย้อนกลับไปได้ไม่สิ้นสุด เช่นเราลองนึกถึงตัวเราในอดีตที่กำลังเศร้ากับการกระทำที่ผิดพลาดของตนในอดีต ในสัญญาของตัวเราในอดีตก็มีเหตุการณ์ที่ตัวเราในอดีตขณะนั้นมีภาพตัวเราที่เป็นอดีตของอดีตตัวเราทำความผิดพลาดซ้อนอีกดังนั้นสัญญาจะมีลักษณะซ้อนทับกับไปเรื่อยๆไม่สิ้นสุด แต่ที่เราจำเหตุการณ์ในอดีตไม่ได้ เพราะแค่ปีที่แล้วยังยังจำไม่ค่อยได้เลยเพราะอำนาจสติมีกำลังน้อย อีกทั้งที่เราจำชาติก่อนไม่ได้เพราะ กฎแห่งวัฏฏะ ( คือกิเลส ทำให้เกิดกรรมคือการกระทำ และรับผลการกระทำนั้นเมื่อรับผลก็ทำให้เกิดกิเลสไม่สิ้นสุด ) 1. เรามีอวิชชา เป็นกิเลสวัฏฏะ 2.ทำให้เกิดมโนกรรมคือมิจฉาทิฏฐิ 3.ทำให้เกิดวิบากกรรมคือจำชาติที่แล้วไม่ได้ เนื่องจากขณะจิตที่ดับจิตเป็นมิจฉาทิฏฐิ (ไม่รู้ทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์คือดับกิเลสและทางปฏิบัติให้พ้นทุกข์คือ[[มรรคมีองค์๘]]) ชนกกรรมที่นำไปเกิดทำให้สันตติความจำขาดจำชาติที่แล้วไม่ได้ ดังนั้นถ้าแม้ใครไม่บรรลุธรรมจนละอวิชชาได้ แต่หากขณะจิตที่จะตายจิตมีมโนกรรมเป็นสัมมาทิฏฐิย่อมจำชาติภพที่แล้วได้ชาติหนึ่ง ดังที่มีตัวอย่างที่เป็นเด็กๆจำชาติที่แล้วได้ แต่โตมาลืมเป็นต้น
==อ้างอิง==
*[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
 
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
 
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์พุทธศาสนา]]
 
[[en:Samjñā]]