ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ + หมวดหมู่
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''วัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร''' ('''วัดมกุฏฯ''') เป็น '''พระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร''' ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก หลังจากขุดคลองผดุงกรุงเกษมเป็นคูพระนครชั้นนอกแล้ว พระบามสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงพระราชดำริที่จะให้มีวัดเรียงรายอยู่ตามชายคลองเหมือนที่กรุงศรีอยุธยา จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นเคียงคู่กับวัดโสมนัสวิหาร การก่อสร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๑๑ ในขั้นแรกโปรดเกล้าฯ ให้เรียกชื่อว่า '''วัดนามบัญญัติ''' ไปพลาง ๆ ก่อน เมื่อสิ้นรัชกาลจึงค่อยเรียกนามพระราชทานว่า '''วัดมกุฏกษัตริยาราม''' อันเป็นนามตามพระปรมาภิไธย
 
'''วัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร''' ('''วัดมกุฏฯ)''') เป็น '''[[พระอารามหลวง]] ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร''' ตั้งอยู่ริมถนนและ[[คลองผดุงกรุงเกษม]] ด้านใกล้[[ถนนราชดำเนินนอก]] หลังจากขุดคลองผดุงกรุงเกษมเป็นคูพระนครชั้นนอกแล้ว พระบามสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [[รัชกาลที่]] 4 ทรงพระราชดำริที่จะให้มีวัดเรียงรายอยู่ตามชายคลองเหมือนที่กรุงศรีอยุธยา จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นเคียงคู่กับวัดโสมนัสวิหาร การก่อสร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๑๑2411 ในขั้นแรกโปรดเกล้าฯ ให้เรียกชื่อว่า '''วัดนามบัญญัติ''' ไปพลาง ๆ ก่อน เมื่อสิ้นรัชกาลจึงค่อยเรียกนามพระราชทานว่า '''วัดมกุฏกษัตริยาราม''' อันเป็นนามตามพระปรมาภิไธย
'''วัดมกุฏกษัตริยาราม''' ในเขตพระนคร และ '''วัดโสมนัสวิหาร''' ที่อยู่ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็นวัดในเขตกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีเสมา ๒ ชั้น ชั้นแรกเรียกว่า มหาสีมา อยู่ในซุ้มที่มุมกำแพงรอบวัด และยังมีเสมารอบพระอุโบสถอีกเรียกว่า ขัณฑสีมา ในวัดที่มีเสมา ๒ ชั้นเช่นนี้ พระสงฆ์สามารถประชุมทำสังฆกรรมได้ทั้งพระอุโบสถและพระวิหาร
 
'''[[วัดมกุฏกษัตริยาราม''']] ใน[[เขตพระนคร]] และ '''[[วัดโสมนัสวิหาร''']] ที่อยู่ใน[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] เป็นวัดในเขต[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ที่มีเสมา 2 ชั้น ชั้นแรกเรียกว่า มหาสีมา อยู่ในซุ้มที่มุมกำแพงรอบวัด และยังมีเสมารอบพระอุโบสถอีกเรียกว่า ขัณฑสีมา ในวัดที่มีเสมา 2 ชั้นเช่นนี้ พระสงฆ์สามารถประชุมทำสังฆกรรมได้ทั้งพระอุโบสถและพระวิหาร
อาคารสำคัญในวัดได้แก่ พระวิหาร และพระอุโบสถ มีลายพระมหามงกุฏอันเป็นตราประจำรัชกาลที่ ๔ ทั้งที่หน้าบันและด้านบนของซุ้มประตูหน้าต่างเช่นเดียวกัน ผนังด้านในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมอันหลากหลายแตกต่างจากวัดอื่น เช่น เรื่องพระสาวกในบาลีและอรรถกถา พระอัครสาวก ๑๑ พระองค์ อัครสาวิกา ๘ องค์ ภาพการบำเพ็ญกรรมฐาน สิ่งที่พึ่งปฏิบัติเนื่องด้วยธรรมวินัย ธุดงควัตร บนบานหน้าต่างและบานประตูด้านในเขียนพระสูตรที่เป็นคาถาด้วยตัวอักษรบรรจง เป็นต้น
 
อาคารสำคัญในวัดได้แก่ พระวิหาร และพระอุโบสถ มีลายพระมหามงกุฏอันเป็นตราประจำรัชกาลที่ 4 ทั้งที่หน้าบันและด้านบนของซุ้มประตูหน้าต่างเช่นเดียวกัน ผนังด้านในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมอันหลากหลายแตกต่างจากวัดอื่น เช่น เรื่องพระสาวกในบาลีและอรรถกถา พระอัครสาวก ๑๑11 พระองค์ อัครสาวิกา 8 องค์ ภาพการบำเพ็ญกรรมฐาน สิ่งที่พึ่งปฏิบัติเนื่องด้วยธรรมวินัย ธุดงควัตร บนบานหน้าต่างและบานประตูด้านในเขียนพระสูตรที่เป็นคาถาด้วยตัวอักษรบรรจง เป็นต้น
 
[[หมวดหมู่:วัดไทย]]
{{โครงสถานที่}}