ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอพิชัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Loveless (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ตารางกล่องข้อมูล อำเภอ
| name = พิชัย
| english = Phichai
| province = อุตรดิตถ์
| area = 736.7
| population = 7776,536840
| population_as_of = 20052550
| density = 105.2104
| postal_code = 53120
| geocode = 5307}}
| capital = ที่ว่าการอำเภอพิชัย หมู่ที่ 3 ตำบลในเมือง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ 53120
อำเภอพิชัยเป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ของ[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] อยู่ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ตามทาง[[รถไฟ]]ไปทางทิศใต้ประมาณ 38 [[กิโลเมตร]] ตัวเมืองพิชัยเก่าอยู่ทางทิศเหนือของสถานีรถไฟขึ้นไปไม่ไกล
| phone = 0 5542 1023
| fax = 0 5542 1023
| คำขวัญ = ถิ่นกำเนิดพระยาพิชัย ไส้กรอกใหญ่<br>รสเด็ด แกงรสเผ็ดหอยขม รื่นรมย์ดนตรีมังคละ หลวงพ่อโตพระคู่เมือง
}}
 
เมือง'''อำเภอพิชัย''' เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ของ[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] พิชัยเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เคยเป็นเมืองลูกหลวงของ[[อาณาจักรกรุงสุโขทัย]] เมืองหน้าด่านในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] และเคยเป็นตัวจังหวัดเก่าอีกด้วย
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
อำเภอพิชัยเป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดของ[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] อยู่ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ตามทาง[[รถไฟ]]ไปทางทิศใต้ประมาณ 38 [[กิโลเมตร]] ตัวเมืองพิชัยเก่าอยู่ทางทิศเหนือของสถานีรถไฟขึ้นไปไม่ไกล
*'''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอตรอน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]
*'''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[อำเภอทองแสนขัน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] และ[[อำเภอวัดโบสถ์]] ([[จังหวัดพิษณุโลก]])
*'''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[อำเภอพรหมพิราม]] [[(จังหวัดพิษณุโลก]])
*'''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอศรีนครสวรรคโลก]] และ[[อำเภอศรีสำโรงนคร]] ([[จังหวัดสุโขทัย]])
 
== ประวัติ ==
เมืองพิชัยในอดีตได้ปรากฏใน[[พงศาวดาร]]เหนือและพงศาวดารหลายตอน สำหรับในพงศาวดารเหนือ ปรากฏอยู่ในเรื่องพระยาแกรกตอนหนึ่งว่า เจ้าไวยยักษาเป็นผู้ได้สร้างเมืองพิชัย แต่ทว่าเรื่องพระยาพิชัยในพงศวาดารเหนือ รเหนือเป็นตำนานเล่าต่อกัน มาเท่านั้น ซึ่งเชื่อกันว่าเหตุการณ์ในเรื่องคงจะตรงกับสมัย[[สุโขทัยหรือก่อน[[หรือก่อนสุโขทัย]]ก็ได้ ซึ่งในพงศาวดาร[[กรุงศรีอยุธยา]]ได้ กล่าวถึงพกระเจ้าพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยา [[พ.ศ. 1893]] ปรากฏว่ามีเมืองขึ้นด้วยกันถึง 16 เมือง ในจำนวน 16 เมือง นั้นมี "เมืองพิชัย" รวมอยู่ด้วย แสดงว่า ''เมืองพิชัยเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของอาณาจักรศรีอยุธยาแล้ว''
 
เมืองพิชัยในอดีตได้ปรากฏใน[[พงศาวดาร]]เหนือและพงศาวดารหลายตอนสำหรับในพงศาวดารเหนือ ปรากฏอยู่ในเรื่องพระยาแกรกตอนหนึ่งว่า เจ้าไวยยักษาเป็นผู้ได้สร้างเมืองพิชัย แต่ทว่าเรื่องพระยาพิชัยในพงศวาดารเหนือ เป็นตำนานเล่าต่อกัน มาเท่านั้น ซึ่งเชื่อกันว่าเหตุการณ์ในเรื่องคงจะตรงกับสมัยสุโขทัยหรือก่อน[[สุโขทัย]]ก็ได้ ซึ่งในพงศาวดาร[[กรุงศรีอยุธยา]]ได้ กล่าวถึงพกระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยา [[พ.ศ. 1893]] ปรากฏว่ามีเมืองขึ้นด้วยกันถึง 16 เมือง ในจำนวน 16 เมือง นั้นมี เมืองพิชัยรวมอยู่ด้วย แสดงว่า ''เมืองพิชัยเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของอาณาจักรศรีอยุธยาแล้ว''
 
[[ภาพ:ศาลพระยาพิชัยดาบหักอำเภอพิชัย.jpg|100px|left|thumb|ศาลพระยาพิชัยดาบหัก หน้าวัดหน้าพระธาตุ อำเภอพิชัย]]
 
ต่อมา [[พ.ศ. 2033]] ได้มีการก่อกำแพงเมืองขึ้น ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลรัชสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ในปี [[พ.ศ. 2127]] ตรงกับรัชกาลรัชสมัย[[สมเด็จพระมหาธรรมราชา]] ซึ่งเป็นปีที่[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ประกาศอิสรภาพ พระองค์ทรงขับไล่กองทัพ[[พม่า]] ทางหัวเมืองเหนือ ปรากฏว่าพระยาสวรรคโลกและพระยาพิชัยแข็งเมือง ไม่ยอมเกณฑ์ กำลังไปช่วย พระองค์จึงยกกองทัพเข้าตีเมือง[[สวรรคโลก]]และเมืองพิชัย จับพระยาสวรรคโลกและพระยาพิชัย มีรับสั่งให้ประหารชีวิตทั้งสองคนและกวาดต้อนพลเมือง ลงมายังเมือง[[พิษณุโลก]]จนสิ้น ต่อมาในสมัย[[ธนบุรี]] [[พระเจ้ากรุงธนบุรี]]จะเสด็จไปตีเมือง[[เชียงใหม่]]ในปี [[พ.ศ. 2314]] พระองค์ได้ไปตั้งประชุมทัพหลวงที่พิชัย ต่อมา [[พ.ศ. 2315]] โปสุพาลา แม่ทัพพม่าไปตีได้เมือง[[หลวงพระบาง]] ให้ซิกชิงโบ นายทัพพม่ายกมาตีเมือง[[ลับแล]]แล้วเลยมาตีเมืองพิชัย พม่าตั้งค่ายอยู่ที่ วัดเอกา ขณะนั้นเมืองพิชัยมีรี้พลน้อย [[พระยาพิชัย]]ได้ตั้งมั่นรักษาเมืองแล้วขอกองทัพเมืองพิษณุโลกขึ้นไปช่วย [[กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]] เมื่อยังเป็นเจ้าพระยาสุรสีห์เสด็จยกกองทัพเมืองพิษณุโลกขึ้นไปช่วยได้รบกับพม่าเป็นสามารถ พระยาพิชัยถือดาบสองมือคุมพลทหารออกไล่ฟันพม่าจนดาบหัก จึงได้สมญาว่า "[[พระยาพิชัยดาบหัก]]" แต่นั้นมาทำให้กองทัพพม่าแตกพ่ายหนีไป
 
ต่อมาในสมัย[[ธนบุรี]] [[พระเจ้ากรุงธนบุรี]]จะเสด็จไปตีเมือง[[เชียงใหม่]]ในปี [[พ.ศ. 2314]] พระองค์ได้ไปตั้งประชุมทัพหลวงที่เมืองพิชัย ต่อมา [[พ.ศ. 2315]] โปสุพาลา แม่ทัพพม่าไปตีได้เมือง[[หลวงพระบาง]] ให้ซิกชิงโบนายทัพพม่ายกมาตีเมือง[[ลับแล]]แล้วเลยมาตีเมืองพิชัย พม่าตั้งค่ายอยู่ที่วัดเอกา ขณะนั้นเมืองพิชัยมีรี้พลน้อย [[พระยาพิชัย]]ได้ตั้งมั่นรักษาเมืองแล้วขอกองทัพเมืองพิษณุโลกขึ้นไปช่วย [[กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]] (เมื่อยังเป็นเจ้าพระยาสุรสีห์) เสด็จยกกองทัพเมืองพิษณุโลกขึ้นไปช่วยได้รบกับพม่าเป็นสามารถ พระยาพิชัยถือดาบสองมือคุมพลทหารออกไล่ฟันพม่าจนดาบหักจึงได้สมญาว่า "[[พระยาพิชัยดาบหัก]]" แต่นั้นมา ทำให้กองทัพพม่าแตกพ่ายหนีไป
จนกระทั่งถึงสมัย[[กรุงรัตนโกสินทร์]] เมืองพิชัยได้เป็นเมืองสำคัญขึ้นในสมัย[[รัชกาลที่ 3]] เพราะเมื่อ[[เจ้าอนุวง]][[เวียงจันทร์]]เป็นขบถ กองทัพ[[กรุงเทพ]]ฯ ยกขึ้นไปปราบปราม และโปรดให้เลิกอาณาเขตศรีสัตนาคนหุตไม่ให้มีดังแต่ก่อน เมืองพิชัยได้หัวเมืองขึ้นหลายเมือง ขยายเขตแดนออกไปถึง[[แม่น้ำโขง]] ต้องตรวจตรารักษาการทางเมือง[[แพร่]] [[น่าน]] ตลอดจนเมือง[[หลวงพระบาง]]
 
จนกระทั่งถึงสมัย[[กรุงรัตนโกสินทร์]] เมืองพิชัยได้เป็นเมืองสำคัญขึ้นในสมัย[[รัชกาลที่ 3]] เพราะเมื่อ[[เจ้าอนุวงอนุวงศ์]][[เวียงจันทร์เวียงจันทน์]]เป็นขบถ กองทัพ[[กรุงเทพ]]ฯจากกรุงเทพฯ ยกขึ้นไปปราบปราม และโปรดให้เลิกอาณาเขตศรีสัตนาคนหุตไม่ให้มีดังแต่ก่อน เมืองพิชัยได้หัวเมืองขึ้นหลายเมือง ขยายเขตแดนออกไปถึง[[แม่น้ำโขง]] ต้องตรวจตรารักษาการทางเมือง[[แพร่]] เมือง[[น่าน]] ตลอดจนเมือง[[หลวงพระบาง]]
'''ต่อมาเมืองพิชัยเสื่อมลง เนื่องจากราษฎรอพยพไปอยู่[[ตำบลท่าอิฐ]]''' (ซึ่งเป็นที่ตั้งตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้) จนกระทั้งถึงสมัย[[รัชกาลที่ 5]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเป็นเมืองขึ้นเรียกว่า '''เมือง[[อุตรดิตถ์]]''' และโปรดให้เป็นเมืองขึ้นของอำเภอพิชัย ซึ่งในตอนนั้นเมืองพิชัยแบ่งการปกครองออกเป็น 5 เมือง คือ เมืองอุตรดิตถ์ เมือง[[ตรอน]] เมือง[[ลับแล]] เเละเมือง[[น้ำปาด]]
 
'''ต่อมาเมืองพิชัยเสื่อมลง เนื่องจากราษฎรอพยพไปอยู่[[ตำบลท่าอิฐ]]''' (ซึ่งเป็นที่ตั้งตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้) จนกระทั้งกระทั่งถึงสมัย[[รัชกาลที่ 5]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระองค์ทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งตำบลท่าอิฐเป็นเมืองขึ้นเรียกว่า '''เมือง[[อุตรดิตถ์]]''' และโปรดให้เป็นเมืองขึ้นของอำเภอพิชัย ซึ่งในตอนนั้นเมืองพิชัยแบ่งการปกครองออกเป็น 5 เมือง คือ เมืองอุตรดิตถ์ เมือง[[ตรอน]] เมือง[[ลับแล]] เเละเมือง[[น้ำปาด]]
ใน [[พ.ศ. 2442]] [[รัชกาลที่ 5]] โปรดให้ย้ายศาลากลางเมืองไปตั้งที่เมืองอุตรดิตถ์ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงมา ใช้ชื่อเมืองอุตรดิตถ์ คือ ใช้เมืองพิชัยอยู่ พึ่งเปลี่ยนชื่อมาเป็นเมืองอุตรดิตถ์ เมื่อปี [[พ.ศ. 2458]] ในสมัย[[รัชกาลที่ 6]] ส่วน [[อำเภอพิชัย]]เก่า โปรดเกล้าให้เรียกว่า "อำเภอพิชัย" เรื่อยมาจนปัจจุบันนี้
 
ใน [[พ.ศ. 2442]] [[รัชกาลที่ 5]] โปรดเกล้าฯ โปรดให้ย้ายศาลากลางเมืองพิชัยไปตั้งที่เมืองอุตรดิตถ์โดยยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงมา เปลี่ยนไปใช้ชื่อเมืองอุตรดิตถ์ คือแต่ใช้ชื่อ ใช้"เมืองพิชัย" อยู่ พึ่งเพิ่งเปลี่ยนชื่อมาเป็น "เมืองอุตรดิตถ์ " เมื่อปี [[พ.ศ. 2458]] ในสมัย[[รัชกาลที่ 6]] ส่วน [[อำเภอพื้นที่อันเป็นที่ตั้งเมืองพิชัย]]เก่า โปรดเกล้าฯ โปรดเกล้าให้เรียกว่า "'''อำเภอพิชัย"''' เรื่อยมาจนปัจจุบันนี้
== อาณาเขต ==
 
'''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอตรอน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]
 
'''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[อำเภอพรหมพิราม]] [[จังหวัดพิษณุโลก]]
 
'''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[อำเภอทองแสนขัน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] และ[[อำเภอวัดโบสถ์]] [[จังหวัดพิษณุโลก]]
 
'''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอศรีนคร]] และ[[อำเภอศรีสำโรง]] [[จังหวัดสุโขทัย]]
 
== การปกครอง ==
 
อำเภอพิชัยแบ่งออกเป็น 11 [[ตำบล]] 85 [[หมู่บ้าน]]
 
== การปกครองส่วนภูมิภาค ==
อำเภอพิชัยแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 11 [[ตำบล]] 85 97 [[หมู่บ้าน]] ได้แก่
{|
|-
||1.||ในเมือง||||||||(Nai Mueang)||||||||8 หมู่บ้าน||||||||||||||||7.||ท่ามะเฟือง||||||||(Tha Mafueang)||||||||10 หมู่บ้าน||
|-
||2.||บ้านดารา||||||||(Ban Dara)||||||||9 หมู่บ้าน||||||||||||||||8.||บ้านโคน||||||||(Ban Khon)||||||||8 หมู่บ้าน||
|-
||3.||ไร่อ้อย||||||||(Rai Oi)||||||||11 หมู่บ้าน||||||||||||||||9.||พญาแมน||||||||(Phaya Maen)||||||||7 หมู่บ้าน||
|-
||4.||ท่าสัก||||||||(Tha Sak)||||||||10 หมู่บ้าน||||||||||||||||10.||นาอิน||||||||(Na In)||||||||7 หมู่บ้าน||
|-
||5.||คอรุม||||||||(Kho Rum)||||||||12 หมู่บ้าน||||||||||||||||11.||นายาง||||||||(Na Yang)||||||||7 หมู่บ้าน||
|-
||6.||บ้านหม้อ||||||||(Ban Mo)||||||||8 หมู่บ้าน||
|}
 
== การปกครองส่วนท้องถิ่น ==
ท้องที่อำเภอพิชัยประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 13 แห่ง ได้แก่
* '''เทศบาลตำบลท่าสัก''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลท่าสัก
* '''เทศบาลตำบลในเมือง''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลในเมือง
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลในเมือง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมือง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลในเมือง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านดารา''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านดาราทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลไร่อ้อย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลไร่อ้อยทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสัก''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าสัก (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลท่าสัก)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลคอรุม''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคอรุมทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหม้อ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านหม้อทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลท่ามะเฟือง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่ามะเฟืองทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโคน''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านโคนทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลพญาแมน''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพญาแมนทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลนาอิน''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาอินทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลนายาง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนายางทั้งตำบล
 
== สถานที่ท่องเที่ยว ==
* [[วัดหน้าพระธาตุ]]
 
* พิพิธภัณฑ์บ้านเกิด[[พระยาพิชัยดาบหัก]] ที่ห้วยคา
 
* คูปราสาท
[[วัดหน้าพระธาตุ]]
* ปรางค์
 
* วัดเอกา
พิพิธภัณฑ์บ้านเกิด[[พระยาพิชัยดาบหัก]] ที่ห้วยคา
* วัดมหาธาตุ
 
* วัดขวางชัยภูมิ
คูปราสาท
* กำแพงเมืองพิชัย
 
* วัดบึงสัมพันธ์
ปรางค์
 
วัดเอกา
 
วัดมหาธาตุ
 
วัดขวางชัยภูมิ
 
กำแพงเมืองพิชัย
 
วัดบึงสัมพันธ์
 
{{อำเภอจังหวัดอุตรดิตถ์}}
{{โครงจังหวัด}}
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์|อำเภอพิชัย]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดอุตรดิตถ์]]