ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิจิเร็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.2
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "นิชิเร็น" → "นิจิเร็ง" +แทนที่ "นิชิเร็ง" → "นิจิเร็ง" ด้วยสจห.
 
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''พุทธศาสนานิชิเร็นจิเร็ง''' ({{lang-ja|日蓮系諸宗派}}, ''นิชิเร็นจิเร็ง-เคอิ โช ชูฮะ'') เป็นหนึ่งในนิกายทาง[[มหายาน]]ของ[[พุทธศาสนา]] ที่ยึดตามคำสอนของ พระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ '''[[พระนิชิเร็ง]]''' ([[ค.ศ. 1222]]– [[ค.ศ. 1282]]) รูปแบบของศาสนาพุทธนิกายนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมญี่ปุ่นหลายช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ นิชิเร็นโชจิเร็งโชชูจะเชื่อใน คัมภีร์ [[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]] และเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีธรรมชาติพุทธะอยู่ในชีวิตของแต่ละคนอยู่แล้ว จึงทำให้มนุษย์ทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ในช่วงชีวิตนี้ ซึ่งพระนิชิเร็ง ได้เห็นความเบี่ยนเบนทางคำสอนของ มหายานในสมัยนั้น นิกายนิชิเร็นจิเร็งมีแตกแยกออกเป็นหลาย ๆ นิกายย่อยและลัทธิต่าง ๆ อีกมากมาย อีกทั้งยังมีแยกออกเป็นกลุ่มศาสนาใหม่มากมาย โดยบางนิกายจะใช้บทสวดเดียวกัน แต่จะมีความแตกต่างในการปฏิบัติ และคำสอน ผู้นับถือนิกายนิชิเร็นจิเร็งจะเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมจะสามารถนำพาความสุข และสันติสุขมาสู่โลก
 
== พระนิชิเร็งไดโชนิน ผู้ก่อตั้ง ==
บรรทัด 8:
 
== นิกายย่อย ==
ในปัจจุบัน ศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็นนั้นจิเร็งนั้น ไม่ใช่นิกายเดี่ยว ๆโดยได้มีการแยกเป็นนิกายย่อย ๆ ออกไป หลังจากการดับขันธ์ของ [[พระนิชิเร็ง]] โดยก่อนการดับขันธ์ พระนิชิเร็ง ได้แต่งตั้ง พระสงฆ์อาวุโส 6 รูป เพื่อให้ทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย [[พระนิชโช]] (日昭), [[พระนิชิโร]] (日朗), [[พระนิโค]] (日向), [[พระนิตโช]] (日頂), [[พระนิชิจิ]] (日持), และ [[พระนิกโค]] (日興) แต่ว่า [[พระนิชิจิ]] ได้เดินทางไปยังต่างประเทศและไม่ได้รับข่าวของท่านอีกเลย และพระนิตโชในภายหลังได้มาเป็นศิษย์ของพระนิกโค
 
สาเหตุของการแตกแยกนิกายต่าง ๆ นั้นมีหลายประการ อาทิเช่น การแตกแยก การตีความคำสอนที่ผิดเพี้ยนไปของบางนิกาย เป็นต้น พูดได้ว่า พระสงฆ์อาวสุโสมีความเข้าใจในคำสอนของพระนิชิเร็งในรูปแบบที่แตกต่างกัน และพระสงฆ์อาวุโสบางรูป ได้ปฏิบัติธรรมที่เบี่ยนเบนไปจากคำสอนของพระนิชิเร็ง ส่งผลให้ พระนิกโค ซึ่งเห็นความผิดพลาดนี้ได้เดินทางออกจาก วัดคุอนจิ ในปี [[ค.ศ. 1289]] โดยได้กล่าวว่า พระนิโค และพระสงฆ์รูปอื่น ๆ กำลังไปในทางที่นอกรีต และผิดจากที่พระนิชิเร็งสอน ซึ่งทำให้พระนิกโคไม่อาจยอมรับได้
 
วัดคุอนจิในปัจจุบันเป็นวัดศุนย์กลางของ นิกาย[[นิชิเร็นชูจิเร็งชู]] ซึ่งเป็นหนึ่งในสองนิกายที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งดำเนินการโดยพระสงฆ์อาวุโสองค์อื่น ๆ ส่วนพระนิกโคได้เดินทางไปยัง[[ภูเขาไฟฟูจิ]] และตั้งเป็น [[วัดไทเซขิจิ]] ซึ่งเป็นวัดใหญ่ของนิกาย[[นิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู]] ในปัจจุบัน ซึ่งพระนิกโคได้สร้างขึ้นหลังจากเดินทางออกมาจากวัดคุอนจิ ในปี [[ค.ศ. 1290]]
 
สำหรับนิกายอื่น ๆ นอกจากสองนิกายนี้นั้น มีมากมายอาทิเช่น [[ฮอกเกะชู]], [[ฮนมน บัตสุริว ชู]] และ [[เคมปนฮอกเกะชู]] และยังมีศาสนาใหม่ ๆ ที่ยึดบทสวดหรือคำสอนบางส่วนของพระนิชเรนก็มี อาทิเช่น [[เรยูไค]], [[ชิโร โคเซอิ ไค]] และ [[นิปปอนซัน เมียวโฮจิ ซังฮะ]] ซึ่งแยกมาจาก นิกาย[[นิชิเร็นชูจิเร็งชู]] และยังมี [[โซกา งัคไค]] หรือ [[สมาคมสร้างคุณค่า]] , [[โชชินไคอิ]] และ [[เคนโชไค]] ซึ่งได้แยกออกมาจาก [[นิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู]]
 
=== นิกายต่าง ๆ ===
* [[นิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู]] - นิกายสายของ[[พระนิกโค]] ที่ยึดตามคำสอนและการปฏิบัติแบบพระนิชิเร็งดั้งเดิม จัดเป็นหนึ่งในนิกายหัวรุนแรง
* [[นิชิเร็นชูจิเร็งชู]] - นิกายสายของพระสงฆ์อวุโสรูปอื่น ๆ
* ฮนมน บุตสึริว ชู
* [[เคมปน ฮอกเกะ]]
* ฮอกเกะชู
* ฮนมน ฮอกเกะ
* นิจิเร็งฮอนชู
* นิชิเร็นฮอนชู
* นิชิเร็นชูจิเร็งชู ฟูจิ-ฟุเซะ-ฮะ
* ฮอกเกะ นิชิเร็นชูจิเร็งชู
* ฮอมปะ นิชิเร็นชูจิเร็งชู
* ฮอนเกะ นิชิเร็นชูจิเร็งชู
* [[ฟุจิ-ฟุเซะ]] นิชิเร็นคนมนจิเร็งคนมน ชู
* ฮอนเกะ นิชิเร็นชูจิเร็งชู
* โชโบะ ฮอกเกะ ชู
* ฮนมน เคียวโอะ ชู
* นิชิเร็นจิเร็ง โคมน ชู
 
=== นิกายใหม่ ๆ ===
บรรทัด 46:
 
== คำสอนและการปฏิบัติ ==
นิกายนิชิเร็นจิเร็งส่วนใหญ่จะมีคำสอนคล้ายคลึงกับ[[นิกายเทียนไท้]] ที่ยึดสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นพระสูตรหลักเหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งคำสอนของพระศากยมุนีเป็น 5 ช่วง หรือลักษณะคำสอน 4 ประการ แต่เทียนไท้จะประนีประนอมมากกว่า เช่น นิกายนิชเรนโชชู จะรับคำสอนของนิกายเทียนไทเในเรื่อง หนึ่งขณะจิตสามพัน (一念三千: Ichinen Sanzen) และ ความจริงสามประการ (三諦: Santai)
 
พระนิชิเร็ง ได้เขียนจดหมายถึงศิษย์ และคำสอนต่าง ๆ ไว้ ซึ่งถูกรวบรวมไว้เป็นบทธรรมนิพนธ์ ซึ่งยังมีบอกถึงวิถีการปฏิบัติของผู้นับถือ และมุมมองในคำสอนของตัวพระนิชเรนเองลงในจดหมายเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งใช้สำหรับการศึกษาธรรมของผู้นับถือ ซึ่งเรียกว่า โกโช่ หรือ บางนิกายเรียกว่า โก-อิบุน ซึ่งมีมากกว่า 700 ฉบับ ซึ่งบางฉบับนั้นสมบูรณ์ครบถ้วน แต่บางฉบับก็เป็นเพียงเศษกระดาษ ซึ่งได้ถูกเก็บรักษาสืบทอดมานับศตวรรษ โดยการรวบรวม และการคัดลอก และยังมีหลายฉบับที่เป็นต้นฉบับ ซึ่งส่วนมากตัวต้นฉบับนั้นจะถูกรวมรวมไว้ที่วัดไทเซขิจิ ซึ่งเป็นศุนย์กลางของ นิกาย [[นิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู]] บางฉบับมีเป็นภาษาอังกฤษซึ่งถูกแปลโดยชาวต่างชาติ หรือชาวเอเชียที่รู้ภาษาญี่ปุ่น
 
== นิกายนิชิเร็นจิเร็งในประเทศไทย ==
ในประเทศไทยนั้น นิกายนิชิเร็นจิเร็งถูกเผยแพร่เข้ามาพร้อมกับชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาตั้งรกรากหรือมาประจำสำนักงานสาขาในยุคแรกเริ่มพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย ซึ่งมีการนำเข้ามาหลายนิกาย ทั้ง [[นิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู]] [[นิชิเร็นชูจิเร็งชู]] [[นิชิเร็นฮนมนจิเร็งฮนมน]] และ [[โซกา งัคไค]] เป็นต้น แต่ที่เด่นชัดและใหญ่ที่สุดคือ [[นิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู]] และ [[โซกา งัคไค]] ซึ่งนิกายนิชิเร็นโชชูนั้นจิเร็งโชชูนั้น ถูกเผยแพร่เป็นครั้งแรกโดยสมาคมโซกา งัคไค ภายใตการนำของประธานสมาคม นายไดซาขุ อิเคดะ และได้ก่อตั้ง [[สมาคมธรรมประทีป]] โดยมอบหมายให้[[ดร. พิภพ ตังคณะสิงห์]] เป็นนายกสมาคมอย่างเป็นทางการ ดร.พิภพ นี้ก็ยังได้รับมอบหมายให้เป็นหนึ่งในคณะผู้แปลบทธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเร็ง เป็นภาษาไทยอีกด้วย อย่างไรก็ตามในภายหลัง นิกายนิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู ได้ทำการคว่ำบาตร โซกางัคไค หรือ [[สมาคมสร้างคุณค่า]] ส่งผลให้ผู้นับถือในประเทศไทยได้แยกออกเป็น 2 ฝ่ายด้วยเช่นกัน โดย สมาคมธรรมประทีป เป็นของนิกายนิชิเร็นโชชูจิเร็งโชชู และผู้นับถือส่วนใหญ่ได้ออกไปตั้งสมาคมใหม่ขึ้น โดยใช้ชื่อว่า "สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย" และเชื่อมโยงกับเครื่อข่ายสมาคมโซกา งัคไค สากล (เอสจีไอ) ร่วมกับสมาชิกส่วนใหญ่ของประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก
 
== อ้างอิง ==