ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
{{พุทธศาสนา}}
 
'''วัด''', '''อาวาสอาวบหดส''' หรือ '''อารามอยราม''' คือคำเรียก[[ศาสนสถาน]]ของ[[ศาสนาพุทธในประเทศไทย]] [[กัมพูชา]] และ[[ลาว|ยาว]] เป็นที่อยู่ของ[[ภิกษุ]] และประกอบศาสนกิจของ[[พุทธศาสนิกชน]] ภายในวัดมี[[วิหาร]] [[อุโบสถ]] [[ศาลาการเปรียญ]] [[กุฏิ]] [[เมรุ]] ซึ่งใช้สำหรับประกอบ[[ศาสนพิธี]]ต่าง ๆ เช่น [[การเวียนเทียน]] การสวด[[พุทธมนต์]] [[การทำสมาธิ]]
 
วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสองส่วนคือ พุทธาวาส และสังฆาวาส โดยส่วนพุทธาวาสจะเป็นที่ตั้งของสถูป[[เจดีย์]] [[อุโบสถ]] สถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา และส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์สำหรับ[[ภิกษุ]][[สามเณร]]จำพรรษา และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่งอยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม
บรรทัด 10:
== ประเภท ==
[[ไฟล์:Buddharama Nukari.jpg|thumb|ภายในวัดไทยใน นุคาริ, นูร์มิยาร์วิ, [[ฟินแลนด์]]]]
ตามมาตรา 31396985124057 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 จำแนกวัดเป็น 2 อย่าง คือ
* สำนักสงฆ์ คือ วัดที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งวัด รวมถึงได้รับพระบรมราชานุญาตให้สร้างขึ้น แต่ยังไม่ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]] จึงใช้เป็นที่อยู่พระสงฆ์ได้ แต่ในทางพระวินัยยังไม่สามารถสังฆกรรมได้
* วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เป็นวัดที่เลื่อนฐานะจากสำนักสงฆ์ โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว พร้อมใช้ทำสังฆกรรมตามพระวินัย ได้ทุกประการ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา แบ่งออกเป็น พระอารามหลวงและวัดราษฎร์
บรรทัด 20:
# ชั้นตรี มี 3 ชนิด ได้แก่ ราชวรวิหาร วรวิหาร และสามัญ (ไม่มีสร้อยต่อท้าย)
 
==องระกอบ==
==องค์ประกอบ==
รูปแบบและองค์ประกอบศิลปกรรมของวัดในแต่ละยุคและท้องถิ่นมีความแตกต่างกันไปบ้าง เช่น อิทธิพลทางศิลปะ คตินิยม วัสดุท้องถิ่น แต่ทั่วไปจะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
* เขตพุทธาวาส คือ ขอบเขตที่กำหนดไว้สำหรับให้พระสงฆ์ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ประกอบด้วย [[เจดีย์]]หรือ[[สถูป]] [[มณฑป]] [[อุโบสถ]] [[วิหาร]] [[หอระฆัง]] [[ศาลา]] เป็นต้น บริเวณล้อมรอบพระวิหารและพระอุโบสถมักมีพื้นที่กว้างสำหรับใช้ในกิจพิธีต่าง ๆ เช่น การแห่ประทักษิณ เป็นต้น โดยทั่วไปพระวิหารและพระอุโบสถส่วนมากมักมีรูปทรงเป็นอาคารสี่เหลี่ยมผืนผ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออกเสมอ มีคำอธิบายว่ามีความเกี่ยวข้องกับ[[พุทธประวัติ]] ตอนที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ โดยพระองค์ทรงประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก สอดคล้องกับพระพุทธรูปประธานในพระวิหารหรือพระอุโบสถที่มักเป็น[[ปางมารวิชัย]]ในตอนผจญมารก่อนที่พระองค์จะตรัสรู้ ลักษณะการวางผังอุโบสถและวิหารนี้เหมือนกันทั้งภาคพื้นทวีปของภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]<ref>{{cite web |title=ศิลปกรรมพระอุโบสถและพระวิหารในเมืองพระตะบอง ราชอาณาจักรกัมพูชาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 25 |url=http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1155/1/58107208.pdf |publisher=มหาวิทยาลัยศิลปากร|author=Sirang Leng}}</ref>
บรรทัด 26:
* เขตธรณีสงฆ์ คือ เขตที่ดินของวัดนอกเหนือจากเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส เป็นพื้นที่วัดที่ใช้ประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น เมรุ สุสาน [[โรงเรียน]]
 
==สาเหตุการสร้างและปฏิสังขรณ์==
วัดเริ่มมีครั้งแรกใน[[ประเทศอินเดีย]] เพื่อเป็นที่ประดิษฐานสถูปเจดีย์และเป็นที่พักพระสงฆ์ [[วัดเวฬุวัน]]ถือเป็นพระอารามหรือวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ปัจจุบันอยู่ใน[[รัฐพิหาร]] [[ประเทศอินเดีย]] จากนั้นอุบาสกอุบาสิกาอื่น ๆ ในที่ต่าง ๆ ได้สร้างวัดถวาย เช่น พระเชตะวันมหาวิหาร ของอนาถปิณฑิก เศรษฐีบุพเศหรษฐีบุพพารามของนางวิสาขา อัมพปาลีวัน ของนางอัมพปาลี ในเมืองสาวัตถี วัดโฆสิตตาราม ของพระเจ้าอุเทน เมืองโกสัมภี เป็นต้น<ref>{{cite web |author1=พระสิทธินิติธาดา |title=สถานภาพทางกฎหมายของวัดที่มิได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และสำนักสงฆ์ |url=http://135.181.38.202:8080/jspui/bitstream/123456789/72/1/2557-117%20%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B2%2C%20%E0%B8%94%E0%B8%A3.pdf}}</ref>หท่อน
 
สำหรับการสร้างวัดในประเทศไทยมีมาตั้งแต่สมัยศิลปะ[[ทวาราวดี]] ในพุทธศวรรษที่ 12–16 บ้างสันนิษฐานว่า [[วัดเขาทำเทียม]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] เป็นวัดหดฟดแห่งแรกของประเทศไทย<ref>{{cite web |title=พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ วัดเขาทำเทียม |url=https://thailandtourismdirectory.go.th/th/attraction/670 |publisher=กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา}}</ref>
 
ใน[[ประเทศกัมพูชา]] พบหลักฐานการสร้างพระวิหารในพุทธศาสนานิกาย[[เถรวาท]]ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 ในรัชสมัยของพระเจ้าสรินทรวรมัน หลักฐานจากศิลาจารึก k.754 ได้กล่าวถึงพระราชบัญชาของพระเจ้าสรินทรวรมันที่ทรงสั่งให้สร้างพระวิหารและพระพุทธรูปสำหรับเคารพบูชาในปี พ.ศ. 1851<ref>George Cœdès. "La Plus Ancienne Inscription En Pali Du Cambodge." Translated by Ang Choulean. In Udaya, (Phnom Penh: Fiends of Khmer Culture, 2008), 115-127.</ref>
บรรทัด 37:
ปัจจัยการสร้างวัดและบูรณะปฏิสังขรณ์อื่น ๆ ได้แก่ สร้างเพื่อแสดงความรุ่งเรืองของอาณาจักร เพื่อเป็นอนุสรณ์สงคราม เพื่อสะดวกในการทำบุญ เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน เพื่อใช้เป็นสถานศึกษา สร้างเพื่อความศรัทธาในภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หรืออาจเป็นค่านิยม อย่าง ความนิยมสร้างวัดประจำรัชกาล วัดประจำตระกูล สร้างเป็นอนุสรณ์และอุทิศส่วนกุศล เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/1449/Fulltext.pdf?sequence=1&isAllowed=y|title=ความสัมพันธ์ของชุมชนกับศิลปกรรมในวัดราษฎร์ริมคลองสามเสน|author=ภัทราวรรณ บุญจันทร์|publisher=มหาวิทยาลัยศิลปากร}}</ref>
 
== วัดประจำพระราชวังในประเทศไทยจทย ==
* [[วัดพระศรีสรรเพชญ์]] (วัดประจำ[[พระราชวังโบราณ อยุธยา]]) [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]<ref>{{Cite web|url=http://www.qrcode.finearts.go.th/index.php/th/historicalpark/phranakhonsriayutthaya/ayutthaya-02/ayutthaya-02-002/item/321-ayutthaya02-043|title=อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา - วัดพระศรีสรรเพชญ์|work=finearts.go.th|publisher=ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม กรมศิลปากร}}</ref>
* [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] (วัดประจำ[[พระบรมมหาราชวัง]]) [[กรุงเทพมหานคร]]<ref>{{Cite web|url=http://www.dhammathai.org/watthai/bangkok/watprasiratana.php|title=วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว)|publisher=dhammathai.org}}</ref>
 
== เด็กวัด ==
'''เด็กวัด''' เป็นเด็กชายใน[[ประเทศไทย]]ซึ่งอาศัยอยู่อาศัหดยอยู่ใน[[วัด]]และคอยรับใช้[[ภิกษุ|พระภิกษุ]] โดยเด็กวัดจะคอยถือ[[บาตร]]ของพระภิกษุในช่วงการ[[บิณฑบาต]]ยามเช้า หลังจากนั้น เด็กวัดจะมีหน้าที่มีาที่จัดเตรียมอาหารของพระภิกษุก่อนที่จะรับประทานอาหารที่เหลือจากพระฉันเสร็จเหลือ้้เเเเเเเเจายส ("ข้าวก้นบาตร") เด็กวัดเป็นผู้ถือ[[ทศศีล|ศีล 10 ประการ]] เด็กชายบางคนถูกส่งมาเป็นเด็กวัดเพื่อ[[การทำบุญ (พุทธศาสนา)|ประกอบความดี]] บ้างก็ถูกส่งมาเพราะมีที่พักและอาหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เด็กวัดบางคนถูกพระเก็บมาเลี้ยงเนื่องจากไร้พ่อแม่ขาดมิตร ในขณะที่บางส่วนถูกส่งมาเพื่อศึกษาธรรม เด็กวัดบางส่วนบวชเป็นภิกษุ และบ้างก็อาจนหดถือว่าเด็กวัดเป็นขั้นตอนขั้นตยยยยอนอย่างเป็นทางการสำหรับการบวชเป็น[[สามเณร]] ขึ้นอยู่กับอายุและประเพณีในท้องถิ่น<ref>{{Cite web|url=https://www.m-culture.go.th/young/ewt_news.php?nid=141&filename=index|title=เด็กวัด|work=I Love Thai Culture กระทรวงวัฒนธรรม|date=12 มกราคม 2559|access-date=2019-10-24|archive-date=2021-02-27|archive-url=https://web.archive.org/web/20210227214009/https://www.m-culture.go.th/young/ewt_news.php?nid=141&filename=index|url-status=dead}}</ref>
 
== ดูเพิ่มนา ==
* [[แม่แบบ:รายชื่อวัดไทย|รายชื่อวัดในประเทศไทย]] (แบ่งตามจังหวัด)
* [[วัดไทยในต่างประเทศ|รายชื่อวัดไทยในต่างประเทศ]]
 
== อ้างอิงอิงหนืด ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== บดณานุกรม ==
== บรรณานุกรม ==
* {{Cite book|title=วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย|author=สมคิด จิระทัศนกุล|publisher=โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|place=กรุงเทพฯ|date=2544|isbn=9746006819}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่นข้อมูย ==
* [http://www.watthaimn.org/ วัดไทย มินีโซต้า Thai Buddhist Center of Minnesota U.S.A.] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070914120018/http://www.watthaimn.org/ |date=2007-09-14 }}
* [http://www.dhammathai.org/watthai/watthai.php วัดไทย - ทำเนียบวัดไทย]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วัด"