ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลตรงตัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''การแปลตามรูปของภาษา''' หรือ '''การแปลตรงตัว''' ({{lang-en|Literal Translation}}) เป็นการแปลที่พยายามรักษาความหมายและโครงสร้างของภาษาต้นฉบับไว้ให้มากที่สุด โดยมีความถูกต้องแม่นยำเป็นหลัก แ...
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การแปลตามรูปของภาษา''' หรือ '''การแปลตรงตัว''' ({{lang-en|Literal Translationtranslation}}) เป็นการแปลที่พยายามรักษาความหมายและโครงสร้างของภาษาต้นฉบับไว้ให้มากที่สุด โดยมีความถูกต้องแม่นยำเป็นหลัก แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างภาษาและการใช้คำ เพื่อให้เป็นไปตามหลักการใช้ภาษาของภาษาต้นฉบับ โดยการแปลในลักษณะนี้ มักใช้ในกลุ่มนักวิชาการที่ต้องการความถูกต้องของข้อเท็จจริง เพื่อจุดประสงค์ในด้านการศึกษาค้นคว้าหรือการนำไปปฏิบัติ เช่น การแปลฉลากยา ขั้นตอนการทดลอง คู่มือปฏิบัติการ กฎหมายสนธิสัญญาระหว่างประเทศ รายงานและเอกสารทางราชการ<ref>https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=828</ref>
 
การแปลตรงตัวเป็นที่มาของมุกตลกและความรู้นอกตำรามากมาย โดยมักจะเกิดขึ้นกับนักแปลที่ไม่มีประสบการณ์หรือการแปลด้วย[[เครื่องมือแปลภาษา]] เช่น ประโยคภาษารัสเซียที่ว่า "дух бодр, плоть же немощна" ("วิญญาณเต็มใจ แต่เนื้อหนังอ่อนแอ") แต่เมื่อนำมาแปลตรงตัวเป็นภาษาอังกฤษจะได้เป็น "The vodka is good, but the meat is rotten" ("วอดก้านั้นดี แต่เนื้อกลับเน่า")<ref>http://www.hutchinsweb.me.uk/MTNI-11-1995.pdf</ref>
บรรทัด 6:
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{โครงภาษา}}
[[หมวดหมู่:การสื่อสาร]]
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ประยุกต์]]
[[หมวดหมู่:การแปล]]
{{โครงภาษา}}