ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรินดัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ลาโดะห์" → "ลาโดะฮ์" +แทนที่ "เรียว" → "รีเยา" +แทนที่ "กาลีโอ" → "กาลีโย" +แทนที่ "รามัส" → "รามัซ" +แทนที่ "นาซิ" → "นาซี" +แทนที่ "ฆูไล" → "กูไล" ด้วยสจห.
บรรทัด 5:
| alternate_name = รันดัง (สำเนียงมีนังกาเบา)
| country = อินโดนีเซีย
| region = มีนังกาเบา [[จังหวัดสุมาตราตะวันตก]]
| creator =
| course = จานหลัก
บรรทัด 46:
 
== ส่วนประกอบและลักษณะของอาหาร ==
เรินดังเป็นอาหารที่มีรสเผ็ดใช้เนื้อสัตว์ปรุงกับ[[กะทิ]] และน้ำพริกที่ประกอบด้วย[[ขิง]] [[ข่า]] [[ขมิ้น]] [[ตะไคร้]] [[กระเทียม]] [[หัวหอม]] พริก และเครื่องเทศอื่น ๆ การปรุงเรินดังเป็นอาหารที่ต้องการเวลาและความอดทน เรินดังแบบปาดังใช้เวลาปรุงโดยทั่วไปประมาณ 4 ช.ม. เนื้อสัตว์ที่หั่นเป็นชิ้นจะค่อย ๆ ปรุงให้สุกในส่วนผสมของกะทิและเครื่องแกงอย่างช้า ๆ โดยใช้ความร้อนจนกว่าส่วนที่เป็นของเหลวจะระเหยไปหมด<ref>[http://female.kompas.com/read/2011/09/10/20395488/Rendang.Hidangan.Terlezat.di.Dunia Female Kompas.com: Rendang, Hidangan Terlezat di Dunia]</ref> การทำให้ระเหยนี้จะทำโดยการต้มหรือผัดก็ได้
 
โดยปกติเรินดังจะรับประทานกับข้าวนึ่ง เกอตูปัคหรือเลอมังอตูปัตหรือเลอมัง (ข้าวเหนียวหลาม) และกินกับผักเช่น ใบ[[มันสำปะหลัง]]ลวก จูบาดัก (แกง[[ขนุน]]อ่อน)<ref>[http://indonesiaeats.com/gulai-cubadak-nangka-minang-padang-jackfruit-curry/ Gulai Cubadak &#124; Green Jackfruit Gulai Recipe &#124; Online Indonesian Food and Recipes at IndonesiaEats.com]</ref> แกง[[กะหล่ำปลี]]และลาโดะห์โดะฮ์ ([[ซัมบัล]]ที่ทำจากพริกสีเขียวหรือแดง)
<gallery>
ไฟล์:Rendang 1.JPG|<small>กระบวนการแรกในการปรุงเรินดัง ยังมีกะทิเหลือมาก </small>
บรรทัด 54:
ไฟล์:Rendang.JPG|<small>เรินดังเมื่อใกล้เสร็จ กะทิระเหยเกือบหมด เนื้อเป็นสีดำ </small>
ไฟล์:Lamb rendang.jpg|<small>เรินดังปรุงเสร็จแล้ว</small>
ไฟล์:Nasi Rendang.JPG|<small>นาซินาซีรามัสมัซ เรินดังเสิร์ฟกับข้าวนึ่ง แกงกะหล่ำปลี ซัมบัลเขียวและน้ำแกง</small>
</gallery>
 
== ความสำคัญทางวัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:COLLECTIE TROPENMUSEUM Portret van een groep vrouwen met schalen op het hoofd Alahanpandjang TMnr 60003022.jpg|thumb|right|เรินดังเป็นอาหารที่เสิร์ฟเป็นจานแรกให้ผู้มีเกียรติในงานฉลองของชาวมีนังกาเบา]]
ในวัฒนธรรมของชาวมีนังกาเบา เรินดังมีนับสำคัญของปรัชญามุสยาวาระห์ซยาวาระฮ์ (musyawarah),<ref>[http://wisata.kompasiana.com/kuliner/2012/01/12/arti-masakan-rendang-minangkabau/ Kompasiana: Arti Masakan Rendang Minangkabau]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> โดยเครื่องปรุงสี่อย่างของเรินดังเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งสำคัญในสังคมมีนังกาเบา
* ดาเกียงกียัง (เนื้อ) เป็นสัญลักษณ์ของนีเนียกนีนียัก มามัก (Niniak Mamak) คือผู้นำชุมชน
* การัมเบียบียา (มะพร้าว) เป็นสัญลักษณ์ของจาเดียกดียัก ปันได (Cadiak Pandai) คือครู กวี นักเขียน
* ลาโดะห์โดะฮ์ (พริก) เป็นสัญลักษณ์ของ อาลิม อูลามา คือครูผู้สอนศาสนา ความเผ็ดของพริกคือความเข้มงวดของ[[กฎหมายอิสลาม]]
* เปอมากัก เครื่องเทศ หมายถึงผู้คนที่เหลือในสังคมมีนังกาเบา
ในกลุ่มชนชาวมีนังกาเบา เรินดังเป็นอาหารจานแรกที่เสิร์ฟในงานฉลองและให้แก่แขกผู้มีเกียรติที่ได้รับเชิญ เช่นในงานวันเกิด งานแต่งงานและงานสำคัญทางศาสนา ส่วนในกลุ่มชนชาวมลายู เช่นใน[[เรียว]]{{จ|รีเยา}} [[จัมบี]] [[เมดัน]]ในบน[[เกาะสุมาตรา]]หรือ [[เซอเริมบัน]] และ[[โกตาบารู]]บน[[คาบสมุทรมลายู]] เรินดังเป็นอาหารพิเศษในเทศกาลสำคัญ เช่น งานแต่งงาน วันอีด
== ประวัติศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Sari Bundo Surakarta.JPG|thumb|right|ภัตตาคารอาหารปาดังซึ่งทำให้เรินดังกลายเป็นที่นิยม]]
จุดกำเนิดของเรินดังมาจากชาวมีนังกาเบาในสุมาตรา โดยเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันและงานฉลอง เรินดังได้แพร่หลายไปสู่วัฒนธรรมมลายูในบริเวณมันไดลิง เรียวรีเยา จัมบี และข้าม[[ช่องแคบมะละกา]]ไปยัง[[มะละกา]]และ[[เนอเกอรีเซิมบีลัน]]ซึ่งเป็นบริเวณบนคาบสมุทรที่มีชาวมีนังกาเบาข้ามไปตั้งรกราก ในปัจจุบันถือว่าเรินดัง เป็นอาหารพื้นเมืองทั้งของสุมาตราและคาบสมุทรมลายู การแพร่กระจายของเรินดังเป็นผลมาจากการเดินทางไปประกอบอาชีพของชาวมีนังกาเบาทั้งในมาเลเซียและอินโดนีเซีย มีการจัดตั้งภัตตาคาร[[อาหารปาดัง]]จนกลายเป็นที่รู้จักและเป็นที่นิยม ทั่วทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ รวมทั้งยุโรปและสหรัฐอเมริกา
 
== ชนิด ==
[[ไฟล์:Nasi ramas rendang.JPG|thumb|right|นาซินาซีรามัสปาดังมัซปาดัง; เรินดังเสิร์ฟกับข้าวนึ่ง ใบมันสำปะหลัง ไข่ และน้ำแกง]]
[[ไฟล์:Rendang dish closeup.jpg|thumb|right|เรินดังในเนเธอร์แลนด์ซึ่งจริง ๆ เป็นกาลีโอโยเพราะยังมน้ำอยู่มีน้ำอยู่]]
ในการปรุงอาหารของชาวมีนังกาเบา มีอาหารหลายชนิดที่ใช้เนื้อสัตว์ปรุงกับกะทิและน้ำพริกและมีการแบ่งระดับตามจำนวนปริมาณของเหลวที่เหลือในอาหารจากมากสุดไปจนถึงแห้งคือ ฆูไลกูไล – กาลีโอโย- เรินดัง <ref>[http://wisata.kompasiana.com/jalan-jalan/2010/03/18/gulai-kalio-atau-rendang/ Kompasiana: Dian Kelana: Gulai, Kalio, atau Rendang?]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>ความต่างกันในด้านเครื่องปรุงมีเพียงฆูไลกูไลนิยมใช้พริกแดงและ[[ขมิ้น]]มากกว่า ถ้าปรุงจนถึงแค่เนื้อสัตว์สุก กะทิเดือดแล้วยกลงจะเรียกฆูไลกูไล ถ้าปรุงจนกะทิระเหยไปบางส่วนเนื้อสัตว์เริ่มเป็นสีน้ำตาลแล้วหยุด เรียกกาลีโอโย ถ้าปรุงจนกะทิระเหยไปหมด เนื้อสัตว์เปลี่ยนเป็นสีดำหรือเกือบดำเรียกเรินดัง ในปัจจุบันจะแบ่งเรินดังเป็นสองชนิด เรียกแบบแห้งและแบบน้ำ
* เรินดังแห้ง เป็นเรินดังที่แท้จริงของชาวมีนังกาเบา เก็บได้นานถึงสี่สัปดาห์โดยไม่ต้องแช่เย็น
* เรินดังน้ำหรือกาลีโอโย เป็นเรินดังที่ที่ปรุงด้วยเวลาสั้นกว่า กะทิยังไม่ระเหยไปหมด เก็บโดยไม่แช่เย็นได้ไม่ถึงสัปดาห์
เรินดังที่ปรุงโดยวัฒนธรรมอื่นที่ไม่ใช่ชาวมีนังกาเบา เช่น ในวัฒนธรรมมลายูมักเป็นกาลีโอโย เรินดังในมาเลเซียมีหลายแบบ เช่นแบบของ[[กลันตัน]]และเนอเกอรีเซิมบีลัน ซึ่งมีรสชาติต่างจากที่พบในอินโดนีเซีย มีเพียงเรินดังของ[[รัฐเปรัก]]ที่เป็นเรินดังแห้ง นอกจากนั้น ชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ในอินโดนีเซียได้นำเรินดังไปปรุงเป็นอาหารของพวกเขาเอง ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตัวอย่างเช่น เรินดังใน[[ชวา]] จะมีรสหวานกว่าและเผ็ดน้อยกว่า
 
== ความหลากหลาย ==
บรรทัด 82:
* เรินดัง ดากิง เป็นชนิดที่พบได้ทั่วไป ทำจากเนื้อสัตว์ได้หลายชนิด เช่น เนื้อวัว เนื้อควาย แพะ แกะ
* เรินดัง อายัม ทำจากไก่
* เรินดัง อีเตียกตียัก หรือเรินดัง บเบก ทำจากเป็ด
* เรินดัง ฮาตี ทำจากตับ
* เรินดังตาลัว หรือ เรินดังเตอลูร์ ทำจากไข่