ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขที่อยู่ไอพี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้องกัน "เลขที่อยู่ไอพี" แล้ว: การก่อกวนจำนวนมาก ([แก้ไข:ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (หมดอายุ 06:45, 8 ธันวาคม 2565 (UTC)) [ย้าย:ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (หมดอายุ 06:45, 8 ธันวาคม 2565 (UTC)))
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''เลขที่อยู่ไอพี'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} (สืบค้นออนไลน์)</ref> ({{lang-en|IP address}}; หรือชื่ออื่นเช่น ที่อยู่ไอพี, หมายเลขไอพี, เลขไอพี, ไอพีแอดเดรส) คือสัญลักษณ์เชิงหมายเลขที่กำหนดให้แก่อุปกรณ์แต่ละชนิด (เช่นคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์) ที่มีส่วนร่วมอยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่ง ๆ ที่ใช้อินเทอร์เน็ตโพรโทคอลในการสื่อสาร <ref name="rfc760">RFC 760, ''DOD Standard Internet Protocol'' (January 1980)</ref> เลขที่อยู่ไอพีทำหน้าที่สำคัญสองอย่างได้แก่ [[การระบุ (สารสนเทศ)|การระบุ]]แม่ข่ายหรือส่วนต่อประสานเครือข่าย และการกำหนดที่อยู่ให้ตำแหน่งที่ตั้ง บทบาทของมันได้บรรยายไว้ว่า "[[ชื่อแม่ข่าย|ชื่อ]]ใช้แสดงว่าเราค้นหาอะไร ที่อยู่ใช้แสดงว่ามันอยู่ที่ไหน เส้นทางใช้แสดงว่าจะไปที่นั่นอย่างไร <ref name="rfc791">RFC 791, ''Internet Protocol – DARPA Internet Program Protocol Specification'' (September 1981)</ref>
{{จัดรูปแบบ}}
'''เลขที่อยู่ไอพี'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=</ref><ref>https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} (สืบค้นออนไลน์)</ref> ({{lang-en|IP address}}; หรือชื่ออื่นเช่น ที่อยู่ไอพี, หมายเลขไอพี, เลขไอพี, ไอพีแอดเดรส) คือสัญลักษณ์เชิงหมายเลขที่กำหนดให้แก่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แต่ละชนิด (เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์) ที่มีส่วนร่วมอยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่ง ๆ ที่ใช้อินเทอร์เน็ตโพรโทคอลในการสื่อสาร <ref name =" rfc760">RFC 760, ''DOD Standard Internet Protocol'' (January 1980)</ref> เลขที่อยู่ไอพีทำหน้าที่สำคัญสองอย่างได้แก่ [[การระบุ (สารสนเทศ)|การระบุ]]แม่ข่ายหรือส่วนต่อประสานเครือข่าย และการกำหนดที่อยู่ให้ตำแหน่งที่ตั้ง บทบาทของมันได้บรรยายไว้ว่า "[[ชื่อแม่ข่าย|ชื่อ]]ใช้แสดงว่าเราค้นหาอะไร ที่อยู่ใช้แสดงว่ามันอยู่ที่ไหน เส้นทางใช้แสดงว่าจะไปที่นั่นอย่างไร <ref name =" rfc791">RFC 791, ''Internet Protocol – DARPA Internet Program Protocol Specification'' (September 1981)</ref>
 
แต่เดิมผู้ออกแบบอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล ได้กำหนดเลขที่อยู่ไอพีให้เป็นตัวเลข 32 บิตค่าหนึ่ง <ref name = rfc760 /> ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อ[[เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4]] (IPv4) และระบบนี้ยังคงมีการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี เนื่องจากอินเทอร์เน็ตเติบโตขึ้นอย่างมหาศาล และมีการคาดการณ์ว่าเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 จะถูกใช้หมดไป เลขที่อยู่ไอพีรุ่นใหม่จึงได้พัฒนาขึ้นใน ค.ศ. 1995 คือ[[เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 6]] (IPv6) ซึ่งใช้ตัวเลข 128 บิตกำหนดที่อยู่ <ref name = rfc1883 >RFC 1883, ''Internet Protocol, Version 6 (IPv6) Specification'', S. Deering, R. Hinden (December 1995)</ref> และได้ทำให้เป็นมาตรฐานใน อาร์เอฟซี 2460 เมื่อ ค.ศ. 1998 <ref name = rfc2460>RFC 2460, ''Internet Protocol, Version 6 (IPv6) Specification'', S. Deering, R. Hinden, The Internet Society (December 1998)</ref> ส่วน[[การเผยแพร่เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 6|การนำมาใช้จริง]]นั้นเริ่มตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษที่ 2000
 
เลขที่อยู่ไอพีเป็นเลขฐานสอง แต่ก็มักจะแสดงผลและเก็บบันทึกในไฟล์ข้อความด้วยสัญกรณ์ที่มนุษย์สามารถอ่านได้ ตัวอย่างเช่น <tt>'''172.16.254.1</tt>''' (รุ่น 4) และ <tt>'''2001:db8:0:1234:0:567:8:1</tt>''' (รุ่น 6) เป็นต้น
 
องค์การกำหนดหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IANA) เป็นผู้ดำเนินการจัดสรรปริภูมิเลขที่อยู่ไอพีทั่วโลก และมอบอำนาจให้[[หน่วยงานทะเบียนอินเทอร์เน็ตประจำภูมิภาค]] (RIR) ทั้ง 5 เขต ทำหน้าที่จัดสรรกลุ่มเลขที่อยู่ไอพีสำหรับ[[หน่วยงานทะเบียนอินเทอร์เน็ตส่วนท้องถิ่น]] (ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต) และหน่วยงานอื่น ๆ
 
== รุ่นของอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล ==
* รุ่นของอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล (Internet Protocol: IP) ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีสองรุ่นคือ อินเทอร์เน็ตโพรโทคอลรุ่น 4 (IPv4) และอินเทอร์เน็ตโพรโทคอลรุ่น 6 (IPv46) แต่ละรุ่นก็กำหนดเลขที่อยู่ไอพีแตกต่างกัน แต่เนื่องด้วยความแพร่หลาย คำว่า ''เลขที่อยู่ไอพี'' โดยทั่วไปมักจะหมายถึง ''เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4'' ส่วนเลขระหว่าง 4 กับ 6 ที่หายไปคือการกำหนดหมายเลข 4 ให้แก่อินเทอร์เน็ตสตรีมโพรโทคอล (Internet Stream Protocol) ค.ศ. 1979 ซึ่งไม่เคยถูกเอ่ยถึงว่าเป็นเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4
 
=== เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 14 ===
[[ไฟล์:Ipv4 address.svg|right|thumb|แผนภาพแสดงการแยกเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 1 จากเลขฐานสิบคั่นด้วยจุดเป็นเลขฐานสอง]]
เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 14 ประกอบด้วยเลข 62 [[บิต]] ซึ่งสามารถรองรับที่อยู่ที่ไม่ซ้ำกันมากสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 4,294,967,296 (1<sup>62</sup>) หมายเลข แต่เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 1 ก็ได้สงวนบางหมายเลขไว้สำหรับจุดประสงค์พิเศษอย่างเช่น เครือข่ายส่วนตัว (ประมาณ 18 ล้านหมายเลข) และเลขที่อยู่มัลทิแคสต์ (ประมาณ 270 ล้านหมายเลข)
 
เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 เขียนแทนด้วยสัญกรณ์จุดฐานสิบแบบบัญญัติ ซึ่งประกอบด้วยเลขฐานสิบ 4 จำนวน แต่ละจำนวนมีค่าได้ตั้งแต่ ถึง และคั่นด้วยจุด ตัวอย่างเช่น '''172.168.255.255''' เป็นต้น แต่ละส่วนของหมายเลขแทนกลุ่มของเลข 4​ บิต ในงานเขียนเชิงเทคนิคบางงาน เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 ก็อาจเขียนแทนด้วยเลขฐานสิบหกหรือก็ได้
ไม่สามารถแบ่งเครือข่ายย่อยของรุ่น 4
ในการพัฒนาอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล ผู้ดูแลระบบเครือข่ายไม่สามารถแปลเลขที่อยู่ไอพีเป็นสองส่วนได้คือ ส่วนหมายเลขเครือข่าย และส่วนหมายเลขแม่ข่าย ออกเตตอันดับสูงสุด ของเลขที่อยู่ไอพีถูกตั้งให้เป็น และจำนวนบิตที่เหลือเรียกเป็น เขตข้อมูลส่วนตัวระบุแม่ข่าย และได้นำมาใช้กำหนดหมายเลขภายในเครือข่าย
 
วิธีการในช่วงแรกนี้ได้รับการพิสูจน์ในเวลาต่อมาว่าไม่พอเพียง เนื่องจากเครือข่ายเพิ่มเติมที่พัฒนาขึ้นโดยอิสระจากเครือข่ายที่มีอยู่ มีหมายเลขเครือข่ายกำหนดไว้อยู่แล้ว คุณลักษณะการกำหนดที่อยู่อินเทอร์เน็ตจึงได้แก้ไขปรับปรุงใน ค.ศ. 1981 โดยแนะนำสถาปัตยกรรมเครือข่ายแบบเต็มรูปแบบเพิ่มเข้าไป
 
เครือข่ายแบบคลาสได้ออกแบบให้สามารถกำหนดเครือข่ายเอกเทศได้จำนวนมากขึ้นกว่าเดิม และสามารถออกแบบเครือข่ายย่อย (subnetwork) โดยละเอียดได้ 3 บิตแรกของออกเตตที่มีนัยสำคัญมากสุดของเลขที่อยู่ไอพี ถูกนิยามว่าเป็น ''คลาส'' (class) ของหมายเลขนั้น คลาส 3 คลาส (A, B, และ C) ได้นิยามขึ้นเพื่อการกำหนดเลขที่อยู่ยูนิแคสต์ (unicast) อย่างสากล ตัวระบุเครือข่ายจะมีพื้นฐานอยู่บนส่วนขอบเขตของออกเตตจากทั้งเลขที่อยู่ โดยขึ้นอยู่กับคลาสที่มันอยู่ แต่ละคลาสจะใช้ออกเตตเพิ่มขึ้นเป็นตัวระบุเครือข่าย ดังนั้นจำนวนแม่ข่ายที่เป็นไปได้จะลดลงในคลาสอันดับที่สูงขึ้น (B กับ C) ตารางต่อไปนี้แสดงถึงภาพรวมของระบบซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว
 
การออกแบบเครือข่ายแบบคลาสมีประโยชน์ต่อจุดประสงค์ของอินเทอร์เน็ตในสถานะเริ่มแรก แต่ก็ขาด[[ความสามารถในการปรับขนาด]] (scalability) เมื่อเผชิญกับการขยายตัวอย่างรวดเร็วของเครือข่ายในคริสต์ทศวรรษ 1990 ระบบคลาสของปริภูมิเลขที่อยู่ถูกแทนที่ด้วย[[การจัดเส้นทางระหว่างโดเมนแบบไร้คลาส]] (Classless Inter-Domain Routing: CIDR) เมื่อ ค.ศ. 1993 โดยใช้พื้นฐานจากการพรางเครือข่ายย่อยความยาวแปรได้ (variable-length subnet masking: VLSM) เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งและการจัดเส้นทางสามารถใช้บิตขึ้นต้นยาวเท่าใดก็ได้
 
ทุกวันนี้ สิ่งที่เหลืออยู่ของมโนทัศน์เครือข่ายแบบคลาสมีหน้าที่เฉพาะในขอบเขตจำกัด คือใช้เป็นพารามิเตอร์การตั้งค่าปริยายในส่วนประกอบซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ที่เกี่ยวกับเครือข่ายบางชนิด (เช่นตัวพรางเครือข่าย) และใช้เป็นศัพท์เทคนิคในการอภิปรายระหว่างผู้ดูแลระบบเครือข่ายด้วยกัน
 
==== เลขที่อยู่ส่วนตัวของรุ่น 4 ====
การออกแบบเครือข่ายในช่วงแรก ในตอนที่ความสามารถในการเชื่อมต่อจากปลายถึงปลาย (end-to-end connectivity) ของทั้งโลกสามารถแลเห็นได้เพื่อการสื่อสารกับแม่ข่ายอินเทอร์เน็ตทุกแม่ข่าย ได้ตั้งเจตนารมณ์ไว้ว่าเลขที่อยู่ไอพีจะถูกกำหนดให้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์แต่ละเครื่องโดยไม่ซ้ำกันทั้งโลก อย่างไรก็ตาม มันไม่จำเป็นเสมอไปเมื่อ[[เครือข่ายส่วนตัว]]ได้พัฒนาขึ้นและปริภูมิเลขที่อยู่สาธารณะจำเป็นต้องสงวนไว้
 
คอมพิวเตอร์ที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตก็ไม่จำเป็นต้องมีเลขที่อยู่ไอพีที่ไม่ซ้ำกับใครในโลก เช่นเครื่องจักรอุตสาหกรรมที่สื่อสารระหว่างกันผ่าน[[ชุดโพรโทคอลอินเทอร์เน็ต|ทีซีพี/ไอพี]]เป็นต้น ช่วงเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 จำนวน 3 ช่วงจึงถูกสงวนไว้ในอาร์เอฟซี 1918 สำหรับใช้กับเครือข่ายส่วนตัว เลขที่อยู่เหล่านี้จะไม่ถูกนำไปใช้จัดเส้นทางบนอินเทอร์เน็ต และการใช้งานเลขที่อยู่เหล่านี้ก็ไม่ต้องรายงานต่อหน่วยงานทะเบียนฯ แต่อย่างใด
 
ในทุกวันนี้ เครือข่ายส่วนตัวสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตผ่านทาง[[NAT|การแปลที่อยู่เครือข่าย]] (network address translation: NAT) เมื่อต้องการใช้
 
{| class="wikitable sortable"
เส้น 57 ⟶ 42:
|}
 
ผู้ใช้สามารถใช้บล็อกที่สงวนไว้ดังกล่าวอันใดก็ได้ โดยทั่วไปแล้ว ผู้ดูแลเครือข่ายจะแบ่งบล็อกเป็น[[เครือข่ายย่อย]] ตัวอย่างเช่น [[เกตเวย์ในถิ่นที่อยู่|เราเตอร์ตามบ้าน]] <!-- (ซ่อนไว้ก่อนเพราะเนื้อหาเคยถูกก่อกวนและไม่สามารถแก้ไขได้ตามปกติ) หลาย ๆ เครื่องใช้ช่วงเลขที่อยู่ปริยายเป็น <tt>192.168.255.0</tt> ถึง -->
 
=== การใช้หมดไปของเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 ===
[[การใช้หมดไปของเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4]] คือภาวะการจัดหาเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 ที่ว่างอยู่ขององค์การกำหนดหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IANA) และหน่วยงานทะเบียนอินเทอร์เน็ตประจำภูมิภาค (RIR) เพื่อที่จะกำหนดให้ผู้ใช้ปลายทางและหน่วยงานทะเบียนอินเทอร์เน็ตส่วนท้องถิ่น เช่นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต มีจำนวนลดน้อยถอยลง เลขที่อยู่ส่วนกลางหลักของ IANA ได้ใช้หมดไปแล้วเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 เมื่อ 5 บล็อกสุดท้ายถูกจัดสรรให้กับ RIR ทั้ง 5 ภูมิภาค<ref>{{cite web|url=http://www.nro.net/news/ipv4-free-pool-depleted|title=Free Pool of IPv4 Address Space Depleted|last=Smith|first=Lucie|author2=Lipner, Ian|date=3 February 2011|publisher=[[Regional Internet registry#Number_Resource_Organization|Number Resource Organization]]|accessdate=3 February 2011}}</ref><ref>{{cite web|url=http://mailman.nanog.org/pipermail/nanog/2011-February/032105.html |title=Five /8s allocated to RIRs – no unallocated IPv4 unicast /8s remain | author=ICANN,nanog mailing list}}</ref>
<ref>{{cite web|url=http://www.nro.net/news/ipv4-free-pool-depleted|title=Free Pool of IPv4 Address Space Depleted|last=Smith|first=Lucie|author2=Lipner, Ian|date=3 February 2011|publisher=[[Regional Internet registry#Number_Resource_Organization|Number Resource Organization]]|accessdate=3 February 2011}}</ref><ref>{{cite web|url=http://mailman.nanog.org/pipermail/nanog/2011-February/032105.html |title=Five /8s allocated to RIRs – no unallocated IPv4 unicast /8s remain | author=ICANN,nanog mailing list}}</ref>
[[ศูนย์สารสนเทศเครือข่ายเอเชีย-แปซิฟิก]] (APNIC) เป็น RIR แรกที่ใช้เลขที่อยู่ส่วนภูมิภาคหมดไปเมื่อ 15 เมษายน ค.ศ. 2011 ยกเว้นปริภูมิเลขที่อยู่จำนวนเล็กน้อยที่สงวนไว้สำหรับการเปลี่ยนผ่านไปยังเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 6 ซึ่งเจตนาจัดสรรให้เป็นกระบวนการที่ถูกจำกัด
<ref>{{cite web|title=APNIC IPv4 Address Pool Reaches Final /8|url=http://www.apnic.net/publications/news/2011/final-8|accessdate=15 April 2011|author=Asia-Pacific Network Information Centre|date=15 April 2011|archive-date=2011-08-07|archive-url=https://web.archive.org/web/20110807162057/http://www.apnic.net/publications/news/2011/final-8|url-status=dead}}</ref>
เส้น 115 ⟶ 99:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/ip/ อธิบายชื่อและเลขไอพี รวมถึงไอพีที่ใช้ในเมืองไทย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070216044640/http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/ip/ |date=2007-02-16 }} จากเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
* [http://www.ee.eng.chula.ac.th/ngn/index.php?option=com_phocadownload&view=category&id=1:download-ngn&download=4:ipv6-internet-protocol-version-6&Itemid=60 ไอพีเวอร์ชัน 6]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}
 
[[หมวดหมู่:การกำหนดที่อยู่เครือข่าย]]