ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ละติจูด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10227284 สร้างโดย 1.47.71.127 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
เรียบเรียงใหม่
บรรทัด 1:
'''วิตถันดร''' หรือ '''ละติจูด''' ({{lang-en|latitude}}) หรือเดิมเรียกว่า '''เส้นรุ้ง''' แทนด้วย[[ฟาย|อักษรกรีก φ]] เป็นพิกัดที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้น[[โลก]]และแบ่งเขตสภาวะอากาศโดยวัดจาก[[เส้นศูนย์สูตร]] พิกัดที่ใช้คู่กัน คือ [[ลองจิจูด]] ละติจูดมีลักษณะเป็นเส้นขนานไปกับเส้นศูนย์สูตร พื้นที่ที่มีพิกัดละติจูดต่างกัน จะมี[[ภูมิอากาศ]] (climate) และ[[สภาพอากาศ]] (weather) ต่างกัน โดยแบ่งเป็น 3 เขตหลัก ได้แก่ เขตร้อน เขตอบอุน และเขตหนาว
 
เส้นขนานละติจูด (Parallels of Latitude) เป็นเส้นสมมติที่วางตามแนวนอนของโลก และยังมีเส้นที่วางตัวตามแนวนอนของโลกตามระดับความสูงกว่าหรือต่ำกว่า ซึ่งเรียกว่า เส้นขนานเส้นละติจูด (Parallels of Latitude) ซึ่งเส้นขนานของเส้นละติจูดเหล่านี้จะเป็นเส้นที่วางขนานกับเส้นขนานละติจูดที่อยู่บริเวณตรงกลางหรือเรียกว่า เส้นศูนย์สูตร หรือ เส้นอิเควเตอร์ (Equator) ละติจูดมีค่าตั้งแต่ 0 องศาที่เส้นศูนย์สูตร ไปจนถึง 90 องศาที่บริเวณ[[ขั้วโลก]] (นับเป็น 90 องศาเหนือหรือ 90 องศาใต้) เนื่องจากเป็นการวัดมุมจากจุดสมมติที่เส้นศูนย์สูตรไปยังจุดขั้วโลกที่ 90 องศา<ref>{{cite web|author= Prosoftgps |title=ละติจูด, ลองจิจูด กับการบอกพิกัดทางภูมิศาสตร์|url=https://www.prosoftgps.com/Article/Detail/72143|accessdate=21 December 2020}}</ref>
== ดูเพิ่ม ==
* [[วงกลมละติจูด]]