ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mamonnod (คุย | ส่วนร่วม)
Mamonnod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
'''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 สายหนองคาย–อุบลราชธานี''' หรือ '''ถนนชยางกูร''' เริ่มจากแยกถนนมิตรภาพสายเก่า [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 233]] ใน [[อำเภอเมืองหนองคาย|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดหนองคาย]] ไปทางทิศตะวันออกทอดยาวไปตามแม่น้ำโขง ผ่านเข้า[[จังหวัดบึงกาฬ]] [[จังหวัดนครพนม]] [[จังหวัดมุกดาหาร]] [[จังหวัดยโสธร]] [[จังหวัดอำนาจเจริญ]] และไปสิ้นสุดที่ตัวเมือง[[จังหวัดอุบลราชธานี]] มีระยะทางประมาณ 584.700 กิโลเมตร เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ยกเว้นช่วงอำเภอเมืองบึงกาฬถึงตำบลหนองแวง อำเภอบ้านแพง มีขนาด 2 ช่องจราจร
 
== ประวัติ ==
เดิมมีชื่อเรียกว่า '''ทางหลวงแผ่นดินสายอุบลราชธานี-มุกดาหาร-นครพนม''' ได้รับการตั้งขนานนามว่า '''ถนนชยางกูร''' เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ในสมัยที่[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่[[หม่อมเจ้าวิเศษศักดิ์ ชยางกูร]] อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางอำนาจเจริญ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/067/6377.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่] - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม พ.ศ. 2493</ref>
 
== รายละเอียดเส้นทาง ==
เริ่มต้นที่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 233]] [[อำเภอเมืองหนองคาย]] แล้วผ่าน [[อำเภอโพนพิสัย]] [[อำเภอรัตนวาปี]] เข้าเขต[[จังหวัดบึงกาฬ]] ที่[[อำเภอปากคาด]] ผ่าน [[อำเภอเมืองบึงกาฬ]] [[อำเภอบุ่งคล้า]] [[อำเภอบึงโขงหลง]] เข้าเขต[[จังหวัดนครพนม]] ที่[[อำเภอบ้านแพง]] ผ่าน[[อำเภอท่าอุเทน]] [[อำเภอเมืองนครพนม]] [[อำเภอธาตุพนม]] เข้าเขต[[จังหวัดมุกดาหาร]] ที่[[อำเภอดงหลวง]] แล้วผ่าน [[อำเภอเมืองมุกดาหาร]] [[อำเภอนิคมคำสร้อย]] เข้าเขต[[จังหวัดยโสธร]] ที่[[อำเภอเลิงนกทา]] เข้าเขต[[จังหวัดอำนาจเจริญ]] ที่[[อำเภอเสนางคนิคม]] ผ่าน[[อำเภอเมืองอำนาจเจริญ]] [[อำเภอลืออำนาจ]] แล้วเข้าเขต[[จังหวัดอุบลราชธานี]] ที่[[อำเภอม่วงสามสิบ]] แล้วสิ้นสุดที่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24]] [[อำเภอเมืองอุบลราชธานี]]
{{ตารางความยาว}}
|-
| [[จังหวัดหนองคาย]]
| align = "right" | 54.346
| align = "right" | 87.462
|-
| [[จังหวัดบึงกาฬ]]
| align = "right" | 78.293 <!--ประมาณ-->
| align = "right" | 126 <!--ประมาณ-->
|-
| [[จังหวัดนครพนม]]
| align = "right" | 109.333 <!--ประมาณ-->
| align = "right" | 175.954 <!--ประมาณ-->
|-
| [[จังหวัดมุกดาหาร]]
| align = "right" | 41.157
| align = "right" | 66.235
|-
| [[จังหวัดยโสธร]]
| align = "right" | 15.912
| align = "right" | 25.608
|-
| [[จังหวัดอำนาจเจริญ]]
| align = "right" | 30.618
| align = "right" | 49.275
|-
| [[จังหวัดอุบลราชธานี]]
| align = "right" | 33.657
| align = "right" | 54.166
|-
|'''รวม'''
| align = "right" | 363.316
| align = "right" | 584.700
|}
เริ่มต้นที่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 233]] [[อำเภอเมืองหนองคาย]] แล้วผ่าน [[อำเภอโพนพิสัย]] [[อำเภอรัตนวาปี]] เข้าเขต[[จังหวัดบึงกาฬ]] ที่[[อำเภอปากคาด]] ผ่าน [[อำเภอเมืองบึงกาฬ]] [[อำเภอบุ่งคล้า]] [[อำเภอบึงโขงหลง]] เข้าเขต[[จังหวัดนครพนม]] ที่[[อำเภอบ้านแพง]] ผ่าน[[อำเภอท่าอุเทน]] [[อำเภอเมืองนครพนม]] [[อำเภอธาตุพนม]] เข้าเขต[[จังหวัดมุกดาหาร]] ที่[[อำเภอดงหลวง]] แล้วผ่าน [[อำเภอเมืองมุกดาหาร]] [[อำเภอนิคมคำสร้อย]] เข้าเขต[[จังหวัดยโสธร]] ที่[[อำเภอเลิงนกทา]] เข้าเขต[[จังหวัดอำนาจเจริญ]] ที่[[อำเภอเสนางคนิคม]] ผ่าน[[อำเภอเมืองอำนาจเจริญ]] [[อำเภอลืออำนาจ]] แล้วเข้าเขต[[จังหวัดอุบลราชธานี]] ที่[[อำเภอม่วงสามสิบ]] แล้วสิ้นสุดที่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลขถนนสรรพสิทธิ์<ref>{{Cite 24]]web|title=ประวัติชื่อถนนสายสำคัญของเมืองอุบล|url=https://www.guideubon.com/2.0/ubon-story/3845/|website=ไกด์อุบล}}</ref> [[อำเภอเมืองอุบลราชธานี]]
 
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 ช่วงมุกดาหาร–เลิงนกทา ได้รับการกำหนดเป็น[[ทางหลวงเอเชียสาย 121]] มีระยะทางประมาณ 47.805 กิโลเมตร [[ทางหลวงเอเชียสาย 15]] และ [[ทางหลวงเอเชียสาย 16|ทางหลวงเอเชีย 16]]
เส้น 42 ⟶ 78:
| อ้างอิง = <ref>http://bmm.doh.go.th/website/index.php/statistics-for-maintenance/map-distance-control/41-highways-agency-3 แผนที่ระยะทางควบคุม สำนักงานทางหลวงที่ 3 สกลนคร</ref>
<ref>http://bmm.doh.go.th/website/index.php/statistics-for-maintenance/24-map-distance-control/47-highways-agency-9 แผนที่ระยะทางควบคุม สำนักงานทางหลวงที่ 9 อุบลราชธานี</ref>
<ref>https://www.guideubon.com/2.0/ubon-story/3845/ "ประวัติชื่อถนนสายสำคัญของเมืองอุบล". ไกด์อุบล.</ref>
|อำเภอ=yes}}
{{ทางแยก/ส่วน