ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (พ.ศ. 2556)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potae 29 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potae 29 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
 
==ประวัติ==
{{เส้นทางของพายุ|Haiyan 2013 track.png}}|left|thumb|ภาพเคลื่อนไหวจากดาวเทียมของพายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน]]
 
[[ภาพ:Haiyan_2013_track.png|thumb|left|200 px|เส้นทางของพายุ]] พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน เริ่มก่อตัวจาก[[บริเวณความกดอากาศต่ำ|หย่อมความกดอากาศต่ำ]]ขนาดหลายร้อยกิโลเมตรทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะโปนเปของสหพันธรัฐ[[ไมโครนีเซีย]]เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน และมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตก สภาพแวดล้อมทำให้หย่อมความกดอากาศต่ำพัฒนาเป็น[[พายุดีเปรสชัน]]เขตร้อนในวันรุ่งขึ้น หลังจากนั้นก็ได้พัฒนาเป็น[[พายุโซนร้อน]]และได้รับการตั้งชื่อว่า ไห่เยี่ยน ในเวลาเที่ยงคืนของวันที่ 4 พฤศจิกายนตามเวลาสากล และได้พัฒนาเป็นพายุที่ที่มีความรุนแรงในเวลาอันรวดเร็ว เมื่อเวลา 18:00 น. ของวันที่ 5 พฤศจิกายนตามเวลาสากล โดยในวันที่ 6 พฤศจิกายน ศูนย์เตือนภัยไต้ฝุ่น (JTWC) ได้ปรับระดับเป็นพายุไต้ฝุ่นระดับ 5 เทียบเท่าซูเปอร์ไต้ฝุ่น พายุได้ผ่านเกาะกายาเงลของ[[ปาเลา]]ไม่นานหลังจากที่ได้พัฒนาขึ้นเป็นซูเปอร์ไต้ฝุ่น หลังจากนั้นพายุยังคงพัฒนายิ่งขึ้นไปอีก เมื่อเวลา 12.00 น. ของวันที่ 7 พฤศจิกายน สำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ได้บันทึกความเร็วลมสูงสุดตามค่าเฉลี่ย 10 นาที ที่ 235 กม./ชม. ในเวลา 18.00 น. ตามเวลาสากล JTWC ได้ประมาณระดับความเร็วลมสูงสุดตามค่าเฉลี่ย 1 นาที ที่ 315 กม./ชม. ทำให้พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยนเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงที่สุดเท่าที่ได้สังเกตการณ์มา หลายชั่วโมงต่อมา ตาของพายุได้เคลื่อนเข้าสู่ฟิลิปปินส์ ที่เมืองกีวาน [[จังหวัดซีลางังซามาร์]] โดยไม่ได้มีการลดระดับความรุนแรงใด ๆ ทำให้พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยนเป็นพายุไต้ฝุ่นที่มีความรุนแรงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ได้พัดขึ้นฝั่ง สุงสุดที่เคยบันทึกได้คือ 305 กม./ชม.ทำไว้โดย[[เฮอริเคนคามิลล์]] ในปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้นพายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยนได้อ่อนกำลังลงทีละน้อย และได้ขึ้นฝั่งเพิ่มเติมอีก 5 ครั้งตามเกาะต่าง ๆ ในประเทศฟิลิปปินส์ ก่อนที่จะเคลื่อนตัวลงสู่[[ทะเลจีนใต้]] และมีทิศทางการเคลื่อนที่เบี่ยงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ในที่สุดก็ขึ้นฝั่งทางตอนเหนือของ[[ประเทศเวียดนาม]]ในระดับ[[พายุโซนร้อน]]เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน และอ่อนกำลังลงเป็น[[พายุดีเปรสชัน]]ในวันต่อมา
 
== ความเสียหาย ==