ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลโอนิด เบรจเนฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phaisit16207 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บูรณะบทความ
บรรทัด 21:
|successor3 = [[อะนัสตัส มีโคยัน]]
|birth_date = {{วันเกิด|2449|12|19|df=yes}}
|birth_place = [[กาเมียนสแก|คาเมนสโกเยสโคเย]], [[จักรวรรดิรัสเซีย]]
|death_date = {{วันตายและอายุ|2525|11|10|2449|12|19|df=yes}}
|death_place = [[มอสโก]], [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย|โซเวียตรัสเซีย]], [[สหภาพโซเวียต]]
บรรทัด 38:
}}
{{เลโอนิด เบรจเนฟ}}
'''เลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ''' ({{lang-rus|Леонид Ильич Брежнев|r=Leonid Ilich Brezhnev|p=ˈlʲɪɐˈnʲit ɨˈlʲjidʑ ˈbrʲeʐnʲɪf|a=Ru-Leonid Ilich Brezhnev.ogg}}; 619 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคมพฤศจิกายน 2525) เป็นนักการเมืองชาวโซเวียตที่เป็น[[ผู้นำสหภาพโซเวียต]] ในฐานะ[[เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต|เลขาธิการกลางคณะกรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]]และผู้นำโซเวียตคนที่ 5 (พ.ศ. 2507-2525)ระหว่าง[[สงครามเย็น]] และในฐานะยังดำรงตำแหน่งเป็นประธานคณะมนตรีผู้บริหารสูงสุดของแห่ง[[รัฐสภาโซเวียต|สภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต]] (พ.ศ. 2503-2507, 2520-2525) . เบรจเนฟดำรงตำแหน่งผู้นำโซเวียตถึงเลขาธิการเป็นเวลา 18 ปี ในขณะซึ่งเป็นการดำรงตำแหน่งยาวนานเป็นอันดับสองรองจาก[[โจเซฟ สตาลิน]] การดำรงตำแหน่งเลขาธิการของเบรจเนฟยังคงเป็นที่ถกเถียงกันโดยนักประวัติศาสตร์ ในช่วงเวลาการปกครองของเบรจเนฟนั้นโดดเด่นเขามีลักษณะเฉพาะด้วยความมั่นคงเสถียรภาพทางการเมืองและความสำเร็จของนโยบายต่างประเทศที่สำคัญ แต่ก็ยังมีการคอร์รัปชั่น ความไร้ประสิทธิภาพ [[สงครามเย็นยุคซบเซา|เศรษฐกิจที่ซบเซา]] แต่เต็มไปด้วยการทุจริตคอร์รัปชั่นและการเติบโตช่องว่างทางเทคโนโลยีที่ช้ากว่าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วกับตะวันตก
 
เบรจเนฟเกิดในครอบครัวชนชั้นแรงงานใน[[กาเมียนสแก|คาเมนสโคเย]] [[เขตผู้ว่าการเยคาเตรีโนสลัฟ]] [[จักรวรรดิรัสเซีย]] (ปัจจุบันคือกาเมียนสแก ประเทศยูเครน) หลังจากผลของ[[การปฏิวัติเดือนตุลาคม]]สิ้นสุดลงด้วย[[สนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต|การก่อตั้งสหภาพโซเวียต]] เบรจเนฟเข้าร่วมสันนิบาตยุวชนของพรรคคอมมิวนิสต์ใน พ.ศ. 2466 ก่อนเข้าเป็นสมาชิกพรรคอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2472 เมื่อ[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา|เยอรมนีบุกโจมตีสหภาพโซเวียต]]ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2484 เขาได้เข้าร่วม[[กองทัพแดง]]ในฐานะผู้ตรวจการและได้เลื่อนยศเป็น[[พลตรี]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]อย่างรวดเร็ว หลังสงครามยุติ เบรจเนฟได้รับการเลื่อนตำแหน่งให้เป็นคณะกรรมการกลางของพรรคใน พ.ศ. 2495 และได้ขึ้นเป็นสมาชิก[[โปลิตบูโร]]เต็มรูปแบบภายใน พ.ศ. 2500 ใน พ.ศ. 2507 เขาได้รวบรวมอำนาจมากพอที่จะปลด[[นีกีตา ครุชชอฟ]] ออกจากตำแหน่งเลขาธิการลำดับที่หนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ทรงอิทธิพลที่สุดในประเทศ
==ประวัติ==
เลโอนิด อิลยิช เบรจเนฟ เกิดเมื่อวันที่ 19 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2449 ที่เมืองคาเมนสโกยี ในรัฐ[[ยูเครน]] เป็นลูกคนที่ 2ในจำนวน 2 คน ของ[[กรรมกร]]ถลุงหล็ก ในวัยเยาว์แม้จะมีฐานะยากจน แต่เขาก็เป็นนักเรียนที่ขยันขันแข็ง เป็น 1 ใน 5 ของลูกกรรมกรที่มีโอกาสได้เรียนในหมู่เด็กในหมู่เด็กที่มีฐานะดีกว่า
 
ระหว่างดำรงตำแหน่ง แนวทางการปกครองแบบอนุรักษ์นิยมและปฏิบัติจริงของเบรจเนฟในการกำกับดูแลได้ปรับสถานะระหว่างประเทศของสหภาพโซเวียตอย่างมีนัยสำคัญ ขณะเดียวกันก็รักษาตำแหน่งของพรรครัฐบาลที่บ้านให้มีเสถียรภาพ ในขณะที่ครุชชอฟมักประกาศใช้นโยบายโดยไม่ปรึกษากับโปลิตบูโรที่เหลือ เบรจเนฟระมัดระวังที่จะลดความขัดแย้งระหว่างผู้นำพรรคด้วยการตัดสินใจผ่านฉันทามติ นอกจากนี้ ในขณะผลักดันให้เกิด[[การผ่อนคลายความตึงเครียด]]ระหว่างมหาอำนาจทั้งสองในช่วง[[สงครามเย็น]] เขาได้บรรลุดุลยภาพทางนิวเคลียร์กับ[[สหรัฐ]] และเสริมความแข็งแกร่งให้สหภาพโซเวียต[[กลุ่มตะวันออก|ในยุโรปกลางและตะวันออก]] นอกจากนี้ การสะสมอาวุธขนาดใหญ่และการแทรกแซงทางทหารที่แพร่หลายภายใต้การนำของเบรจเนฟได้ขยายอิทธิพลของสหภาพโซเวียตไปยังต่างประเทศอย่างมาก (โดยเฉพาะในตะวันออกกลางและแอฟริกา) แม้ว่าความพยายามเหล่านี้จะพิสูจน์ได้ว่ามันมีค่าใช้จ่ายสูงและจะฉุดลากเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียตในปีต่อ ๆ มา
ในช่วงนั้น [[จักรวรรดิรัสเซีย]] รัชสมัยของ [[พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2]] ต้องประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ พวกกรรมกรคนงานต่างขอค่าแรงเพิ่ม และขอลดเวลาทำงานลงเหลือ 8 ชั่วโมง เลโอนิดได้เรียนรู้ถึงการต่อสู้ระหว่าง[[ชนชั้น]][[นายทุน]]และ[[กรรมาชีพ]]ในคราวนี้เอง
 
ตรงกันข้าม การเพิกเฉยต่อการปฏิรูปการเมืองของเบรจเนฟทำให้เกิดยุคแห่งความเสื่อมโทรมของสังคมที่เรียกว่า[[ยุคซบเซา|ยุคชะงักงันของเบรจเนฟ]] นอกเหนือจากนี้ การทุจริตที่แพร่หลายและการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ถดถอย ช่วงเวลานี้ยังมีช่องว่างทางเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้นระหว่างสหภาพโซเวียตและสหรัฐอีกด้วย เมื่อ[[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]]ขึ้นสู่อำนาจใน พ.ศ. 2528 กอร์บาชอฟประณามรัฐบาลของเบรจเนฟในเรื่องความไร้ประสิทธิภาพและความไม่ยืดหยุ่น ก่อนที่จะ[[เปเรสตรอยคา|ดำเนินนโยบาย]]เพื่อเปิดเสรีต่อสหภาพโซเวียต
ในปี [[พ.ศ. 2464]] จบการศึกษาและออกมาทำงานเป็นกรรมกรท่าเรือ พร้อมกับสมัครเข้าเรียนใน[[วิทยาลัย]]ช่างรังวัดและสำรวจไปด้วย และสมัครเป็นสมาชิกยุวชนพรรคคอมมิวนิสต์ ในปี [[พ.ศ. 2466]]ขณะมีอายุได้ 17 ปี และเป็นสมาชิกคอมมิวนิสต์เต็มตัวในปี [[พ.ศ. 2474]]หลังจากเขามีลูกแล้ว 1 คน
 
หลัง พ.ศ. 2518 สุขภาพของเบรจเนฟทรุดโทรมลงอย่างรวดเร็วและเขาก็ปลีกตัวจากกิจการระหว่างประเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่ยังคงรักษาอำนาจไว้ เบรจเนฟ[[อสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟ|ถึงแก่อสัญกรรม]] ในวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 และ[[ยูรี อันโดรปอฟ]]ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการกลางต่อจากเบรจเนฟ
[[พ.ศ. 2480]] เขาได้รับเลือกเป็นรองประธานกรรมการบริหาร และเป็นกรรมการท้องถิ่นของพรรคในปี พ.ศ. 2481 และพอถึงปี [[พ.ศ. 2484]] กองทัพเยอรมันภายใต้การนำของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ก็บุกโจมตีเมืองต่างๆ ของรัสเซียและเกิดการปะทะกันขึ้น เบรสเนฟได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการของกองทหาร และได้ออกรบในแนวหน้าในเดือนกรกฎาคมปีนั้นเอง
 
[[พ.ศ. 2486]] เมื่อ[[กองทัพโซเวียต]]ได้รับชัยชนะ พรรคคอมมิวนิสต์จึงเริ่มเรียกเจ้าหน้าที่ของพรรคกลับจากสมรภูมิ เบรสเนฟก็ถูกเรียกกลับมารับหน้าที่เดิมคือเลขาธิการพรรคประจำท้องถิ่น เมื่อมีการสวนสนามฉลองชัยชนะที่[[จัตุรัสแดง]]ใน[[มอสโก]] เบรสเนฟก็ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการของกองทัพที่ 4
 
[[พ.ศ. 2493]] เบรสเนฟได้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์มอลโดวา สาธารณรัฐที่รวมอยู่ใน[[สหภาพโซเวียต]] ในปีเดียวกันนี้ เขาได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประจำเขตเลนินในดเนปรอปีตอฟสก์
และได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์โซเวียต เมื่อปี [[พ.ศ. 2495]] ขณะมีอายุได้ 46 ปี
 
เมื่อ[[โจเซฟ สตาลิน]] เลขาธิการใหญ่ของพรรคถึงแก่อสัญกรรมลง ในปี [[พ.ศ. 2496]] และ[[นิกิตา ครุสชอฟ]] ได้รับดำรงตำแหน่งแทน เบรสเนฟในฐานะเป็นผู้ที่ครุสชอฟเคยเชื่อถือในความสามารถก็ได้รับการสนับสนุนจากครุสชอฟให้ได้เป็นสมาชิกในคณะเปรสิเดียมซึ่งเป็นคณะผู้นำสูงสุดในปี [[พ.ศ. 2500]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2503]] ก็ได้ดำรงตำแหน่งประธานสภาสูงสุดของโซเวียตอันเป็นตำแหน่งเทียบเท่าประมุขของประเทศ
 
ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งประธานสภา เบรสเนฟได้มีผลงานเด่นๆ หลายเรื่องเกี่ยวกับการทบทวนกฎหมายต่างๆ ที่รัฐบาลเสนอเพื่อจะพัฒนาอุตสาหกรรมและก่อสร้าง การยกเลิกภาษีเงินเดือนคนงานอุตสาหกรรมและการเพิ่มค่าแรงงานให้กับการทำงานบริการสาธารณะ เช่น การศึกษา และสาธารณสุข เป็นต้น
 
และในเดือนตุลาคม [[พ.ศ. 2507]] ที่ประชุมคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ก็ได้เลือกเลโอนิด เบรสเนฟเป็นเลขาธิการใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์แทนนิกิตา ครุสชอฟ ที่ถูกปลดออกเนื่องจากดำเนินนโยบายผิดพลาดหลายประการ
ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกานั้น เบรสเนฟได้เคยเดินทางไปเยือนอเมริกาในปี [[พ.ศ. 2516]] โดยมีประธานาธิบดี[[เจอรัลด์ ฟอร์ด]] ให้การต้อนรับทั้งคู่ได้มีการลงนามในเอกสารหลายฉบับ รวมทั้งสัญญาการป้องกันสงคราม[[นิวเคลียร์]]ด้วย คือ
 
เลโอนิด เบรสเนฟ ดำรงตำแหน่ง[[เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] หรืออีกนัยหนึ่งประธานาธิบดี ตลอดมาจนกระทั่ง[[อสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟ|ถึงแก่อสัญกรรม]]เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2525]] สิริอายุได้ 75 ปี
 
==มรดก==
{{โครง-ส่วน}}
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==