ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้าหลวงอัตถวรปัญโญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 83:
 
# พ.ศ. 2331 หลังจากที่ เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ได้ลงมาเฝ้าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เพื่อขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมา ก็ได้กราบบังคมทูลลากลับบ้านเมือง ในครั้งนั้นเจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ยังมิได้เข้าไปอยู่ในตัวเมืองน่านเนื่องจากคัวเมืองน่านยังรกร้างอยู่ จึงได้ย้ายไปอาศัยอยู่ตามที่ต่างๆ เช่น บ้านติ๊ดบุญเรือน ที่เมืองแก้ว (อำเภอนาน้อย) และที่เมืองพ้อ (อำเภอเวียงสา) ในขณะเดียวกันก็ได้ทำนุบำรุงวัดวาอารามตามบ้านเมืองนั้นๆ ด้วย เช่น
## พ.ศ. 2337 บูรณะปฎิสังขรณ์ปฏิสังขรณ์พระธาตุแช่แห้ง และวิหารพระเจ้าทันใจ <br>
## พ.ศ. 2338 สร้างปราสาทหอธรรมที่วัดกลางเวียง (อำเภอเวียงสา) <br>
## พ.ศ. 2340 - พ.ศ. 2343 สร้างวิหารหลวงวัดบุญยืน พระอารามหลวง<br>
## พ.ศ. 2343 สร้างพระพุทธรูปยืนลงรักปิดทอง ประดิษฐานไว้ในวิหารหลวงวัดบุญยืน
 
2. เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ พระองค์เป็นเจ้าเมืองที่เป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า จึงปรากฏเหตุมหัศจรรย์เกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์ที่ สามเณรน้อยสองรูปพบผอบลอยอยู่เหนือปากถ้ำบริเวณแม่น้ำน่าน เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ก็โปรดให้อัญเชิญแห่เข้ามาในเวียงนครน่าน แล้วจัดการอบรมสมโภชเป็นการยิ่งใหญ่ ครั้นในปี พ.ศ. 2351 จึงอัญเชิญลงมาทูลเกล้าฯ ถวาย [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ณ กรุงเทพฯ ดังปรากฏในจารึกอักษร (ค) จาฤกแผ่นศิลาว่าด้วยพระบรมธาตุมาแต่เมืองน่าน