ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิสัยการได้ยิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3:
Hearing range
-->
'''พิสัยการได้ยิน''' ({{lang-en |Hearing range}}) หมายถึงพิสัยความถี่[[เสียง]]ที่[[มนุษย์]]หรือ[[สัตว์]]อื่น ๆ ได้ยิน แม้ก็อาจหมายถึงระดับความดังเสียงได้ด้วยเหมือนกัน
มนุษย์ปกติจะได้ยินในพิสัยความถี่ 20-20,000 [[เฮิรตซ์]] (Hz)
แต่ก็จะต่างไปตามบุคคลพอสมควรโดยเฉพาะเสียงความถี่สูง
และการสูญความไวเสียงความถี่สูงอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามอายุก็เป็นเรื่องปกติ
ความไวต่อความถี่ต่าง ๆ แม้ในบุคคลก็ยังไม่เท่ากันอีกด้วย (ดูหัวข้อ '''[[#equal-loudness contours|เส้นชั้นความดังเสียงเท่า]]''')
มีสัตว์หลายอย่างที่สามารถได้ยินเสียงเกินพิสัยของมนุษย์
ยกตัวอย่างเช่น [[โลมา]]และ[[ค้างคาว]]สามารถได้ยินเสียงสูงจนถึง 100,000 Hz
[[ช้าง]]สามารถได้ยินเสียงต่ำจนถึง 14-16 Hz ในขณะที่[[วาฬ]]บางชนิดสามารถได้ยินเสียงต่ำในน้ำจนถึง 7 Hz
 
== การวัดการได้ยิน ==
การตรวจการได้ยินบ่อยครั้งจะใช้ผัง '''audiogram''' ซึ่งแสดงเส้นขีดเริ่มเปลี่ยนที่บุคคลได้ยินเทียบกับของผู้ที่ได้ยินเป็นปกติ
เป็นกราฟแสดงเสียงดังน้อยสุดที่ได้ยินตลอดพิสัยความถี่เสียงที่สัตว์ชนิดนั้นได้ยิน<ref>{{cite book | last = Marler | first = Peter | title = Nature's Music: The Science of Birdsong | date = 2004 | publisher = Academic Press Inc. | isbn = 978-0124730700 | page = 207}}</ref>
 
การทดสอบการได้ยินทางพฤติกรรมหรือทางสรีรภาพ สามารถใช้ตรวจหาจุดเริ่มเปลี่ยนของการได้ยินในทั้งมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ
เมื่อทดสอบมนุษย์ จะมีการปล่อยเสียงที่ความถี่และความดังหนึ่ง ๆ
เมื่อผู้รับการทดสอบได้ยินเสียง ก็จะยกมือหรือกดปุ่ม
เสียงดังน้อยที่สุดที่ได้ยินก็จะบันทึกเอาไว้
การตรวจสอบต่างกันบ้างในเด็ก
คืออาจแสดงการได้ยินโดยให้หันศีรษะหรือใช้ของเล่น
 
คือสามารถสอนเด็กให้ทำอะไรบางอย่างเมื่อได้ยินเสียง เช่น ใส่ตุ๊กตาในเรือ
เทคนิคคล้ายกันสามารถใช้ทดสอบสัตว์ โดยมีการให้อาหารเป็นรางวัลเมื่อตอบสนองต่อเสียง
 
ส่วนการทดสอบทางสรีรภาพไม่จำเป็นต้องให้ผู้รับการทดสอบตั้งใจตอบสนอง<ref>{{cite book | last = Katz | first = Jack | title = Handbook of Clinical Audiology | year = 2002 | publisher = Lippincott Williams & Wilkins | location = Philadelphia | isbn = 9780683307658 | edition = 5th}}</ref>
ข้อมูลการได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมต่าง ๆ โดยหลักมาจากการทดสอบทางพฤติกรรม
ความถี่เสียงจะวัดเป็น[[เฮิรตซ์]] (Hz) ซึ่งก็คือ [[เสียง#คุณลักษณะของเสียง|จำนวนรอบคลื่นเสียงต่อวินาที]]
{{anchor | รูป}}<!-- มีลิงก์จากที่อื่น กรุณาอย่าลบหรือเปลี่ยนโดยไม่แก้ลิงก์ด้วย -->
 
== ในสัตว์ ==
{{wide image |Animal_hearing_frequency_range.svg|512px|
<center>