ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9773117 สร้างโดย 110.77.238.52 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 162:
== ประวัติ ==
{{โครงส่วน}}
 
== การกระจายทางภูมิศาสตร์ ==
มีผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่งราว 360 ล้านคน ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษอาจเป็นภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดเป็นอันดับสาม รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน<ref name = "ethnologue">{{cite web |url=http://www.sil.org/ethnologue/top100.html |title=Ethnologue, 1999 |accessdate=31 October 2010 |archiveurl=https://web.archive.org/web/19990429232804/http://www.sil.org/ethnologue/top100.html |archivedate=1999-04-29 |url-status=live }}</ref> อย่างไรก็ดี เมื่อรวมผู้ที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่และมิใช่ภาษาแม่แล้ว ภาษาอังกฤษก็อาจเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดในโลก แม้อาจน้อยกว่าผู้พูด[[ภาษาจีน]]รวมกัน (ขึ้นอยู่กับว่านับรวมเป็น "ภาษา" หรือนับแยกเป็น "ภาษาถิ่น")<ref name=autogenerated1>[http://www2.ignatius.edu/faculty/turner/languages.htm Languages of the World (Charts)], Comrie (1998), Weber (1997), and the Summer Institute for Linguistics (SIL) 1999 Ethnologue Survey. Available at [http://www2.ignatius.edu/faculty/turner/languages.htm The World's Most Widely Spoken Languages]</ref><ref name=Mair>{{cite journal|url=http://sino-platonic.org/complete/spp029_chinese_dialect.pdf|format=PDF|journal=Sino-Platonic Papers|last=Mair|first=Victor H.|authorlink=Victor H. Mair|title=What Is a Chinese "Dialect/Topolect"? Reflections on Some Key Sino-English Linguistic Terms|year=1991|ref=harv}}</ref>
 
การประมาณซึ่งรวมผู้พูดเป็นภาษาที่สองนั้นแปรผันอย่างมากตั้งแต่ 470 ล้านคน ถึงกว่าหนึ่งพันล้านคน ขึ้นอยู่กับว่านิยามและวัด[[การรู้หนังสือ]]หรือความชำนาญอย่างไร<ref>{{cite web |url=http://columbia.tfd.com/English+language |title=''English Language'' |accessdate=26 March 2007 |year=2005 |publisher=Columbia University Press }}</ref><ref>[http://www.oxfordseminars.com/graduate-career-assistance/esl-teaching-jobs.php 20,000 ESL Teaching Jobs] Oxford Seminars. Retrieved 17 April 2012</ref> เดวิด คริสทอล (David Crystal) ศาสตราจารย์ด้านภาษาศาสตร์ คำนวณว่าผู้ที่พูดมิใช่ภาษาแม่นั้นมีมากกว่าผู้พูดเป็นภาษาแม่เป็นสัดส่วน 3 ต่อ 1<ref>{{Cite book | last = Crystal | first = David | author-link = David Crystal | title = English as a Global Language | edition = 2nd |publisher = Cambridge University Press | page = 69 | year = 2003 | url = http://books.google.com/?id=d6jPAKxTHRYC | isbn = 978-0-521-53032-3}}, cited in
{{Cite journal | last = Power | first = Carla | title = Not the Queen's English | journal = Newsweek | date = 7 March 2005 | url = http://www.newsweek.com/id/49022 | ref = harv}}</ref>
 
ประเทศที่มีประชากรผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่มากที่สุด ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (226 ล้านคน)<ref name="US speakers">{{cite web|url=http://www.census.gov/prod/2005pubs/06statab/pop.pdf|title=U.S. Census Bureau, Statistical Abstract of the United States: 2003, Section 1 Population|format=PDF|publisher=U.S. Census Bureau}} Table 47 gives the figure of 214,809,000 for those five years old and over who speak exclusively English at home. Based on the American Community Survey, these results exclude those living communally (such as college dormitories, institutions, and group homes), and by definition exclude native English speakers who speak more than one language at home.</ref> สหราชอาณาจักร (61 ล้านคน)<ref name="Crystal">{{cite web|url=http://www.cambridge.org/catalogue/catalogue.asp?isbn=0521530334 |title=''The Cambridge Encyclopedia of the English Language''|edition=2nd|author= Crystal, David|location= Cambridge, UK|publisher= Cambridge University Press|year=1995}}</ref> แคนาดา (18.2 ล้านคน)<ref name="Canada speakers">[http://www12.statcan.ca/english/census06/data/highlights/language/Table401.cfm Population by mother tongue and age groups, 2006 counts, for Canada, provinces and territories–20% sample data] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090310155903/http://www12.statcan.ca/english/census06/data/highlights/language/Table401.cfm |date=2009-03-10 }}, Census 2006, [[Statistics Canada]].</ref> ออสเตรเลีย (15.5 ล้านคน)<ref name="Australia speakers">[http://www.censusdata.abs.gov.au/ABSNavigation/prenav/ViewData?action=404&documentproductno=0&documenttype=Details&order=1&tabname=Details&areacode=0&issue=2006&producttype=Census%20Tables&javascript=true&textversion=false&navmapdisplayed=true&breadcrumb=TLPD&&collection=Census&period=2006&productlabel=Language%20Spoken%20at%20Home%20by%20Sex%20-%20Time%20Series%20Statistics%20(1996,%202001,%202006%20Census%20Years)&producttype=Census%20Tables&method=Place%20of%20Usual%20Residence&topic=Language& Census Data from Australian Bureau of Statistics] Main Language Spoken at Home. The figure is the number of people who only speak English at home.</ref> ไนจีเรีย (3-5 ล้านคน)<ref>{{cite journal|author=Ihemere, Kelechukwu Uchechukwu|year= 2006|url=http://www.njas.helsinki.fi/pdf-files/vol15num3/ihemere.pdf |title=A Basic Description and Analytic Treatment of Noun Clauses in Nigerian Pidgin|journal=Nordic Journal of African Studies|volume= 15|issue=3|pages= 296–313}}</ref> ไอร์แลนด์ (3.8 ล้านคน)<ref name="Crystal" /> แอฟริกาใต้ (3.7 ล้านคน)<ref name="SA speakers">[http://www.statssa.gov.za/publications/CinBrief/CinBrief2001.pdf Census in Brief], page 15 (Table 2.5), 2001 Census, [[Statistics South Africa]]</ref> และนิวซีแลนด์ (3.6 ล้านคน) ตามลำดับ ข้อมูลมาจากสำมะโนปี 2549<ref>{{cite web |title=About people, Language spoken |url=http://www.stats.govt.nz/Census/2006-census-data/classification-counts-tables/about-people/language-spoken.aspx |archiveurl=https://web.archive.org/web/20091015063211/http://www.stats.govt.nz/Census/2006-census-data/classification-counts-tables/about-people/language-spoken.aspx |archivedate=2009-10-15 |publisher=[[Statistics New Zealand]] |date=2006 census |accessdate=28 September 2009 |url-status=dead }} (links to Microsoft Excel files)</ref>
หลายประเทศ อย่าง[[ฟิลิปปินส์]] [[จาเมกา]]และ[[ไนจีเรีย]]ยังมีผู้พูดภาษาถิ่นต่อเนื่อง (dialect continuum) เป็นภาษาแม่อีกหลายล้านคน ซึ่งมีตั้งแต่ภาษาครีโอล (creole language) อิงภาษาอังกฤษไปจนถึงภาษาอังกฤษรุ่นที่เป็นมาตรฐานมากกว่า [[ประเทศอินเดีย]]เป็นประเทศที่มีผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองมากที่สุด คริสทอลอ้างว่า เมื่อรวมผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่และไม่เป็นภาษาแม่รวมกัน ปัจจุบัน ประเทศอินเดียมีประชากรที่พูดหรือเข้าใจภาษาอังกฤษมากกว่าประเทศใดในโลก<ref>Crystal, David (2004-11-19) [http://education.guardian.co.uk/tefl/story/0,,1355064,00.html Subcontinent Raises Its Voice], ''Guardian Weekly''.</ref><ref>{{cite journal|author=Zhao, Yong and Campbell, Keith P. |year=1995|title=English in China|journal= World Englishes |volume=14 |issue=3|pages= 377–390|quote= Hong Kong contributes an additional 2.5&nbsp;million speakers (1996 by-census)|doi=10.1111/j.1467-971X.1995.tb00080.x}}</ref>
 
=== ประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ===
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักใน[[แองกวิลลา]] [[ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา|แอนติกาและบาร์บูดา]] [[ออสเตรเลีย]] [[บาฮามาส]] [[บาร์บาโดส]] [[เบลีซ]] [[เบอร์มิวดา]] [[บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี]] [[หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน]] [[แคนาดา]] [[หมู่เกาะเคย์แมน]] [[ดอมินีกา]] [[หมู่เกาะฟอล์คแลนด์]] [[ยิบรอลตาร์]] [[เกรนาดา]] [[กวม]] [[เกิร์นซีย์]] [[กายอานา]] [[ไอร์แลนด์]] [[เกาะแมน]] [[จาไมกา]] [[เจอร์ซีย์]] [[มอนต์เซอร์รัต]] [[นาอูรู]] [[นวซีแลนด์|นิวซีแลนด์]] [[หมู่เกาะพิตแคร์น]] [[เซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา]] [[ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส|เซนต์คิตส์และเนวิส]] [[เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์]] [[สิงคโปร์]] [[เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช]] [[ทรินิแดดและโตเบโก]] [[หมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส]] [[สหราชอาณาจักร]]และ[[สหรัฐอเมริกา]]
 
ในบางประเทศซึ่งภาษาอังกฤษมิใช่ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุด แต่เป็นภาษาราชการ ได้แก่ [[บอตสวานา]] [[แคเมอรูน]] [[สหพันธรัฐไมโครนีเซีย]] [[ฟิจิ]] [[แกมเบีย]] [[กานา]] [[อินเดีย]] [[เคนยา]] [[คิริบาส]] [[เลโซโท]] [[ไลบีเรีย]] [[มอลตา]] [[หมู่เกาะมาร์แชลล์]] [[มอริเชียส]] [[นามิเบีย]] [[ไนจีเรีย]] [[ปากีสถาน]] [[ปาเลา]] [[ปาปัวนิวกินี|ปาปัวนิวกินี]] [[ฟิลิปปินส์]] [[รวันดา]] [[เซนต์ลูเชีย]] [[ซามัว]] [[ประเทศเซเชลส์|เซเชลส์]] [[เซียร์ราลีโอน]] [[หมู่เกาะโซโลมอน]] [[ศรีลังกา]] [[ซูดาน]] [[เซาท์ซูดาน]] [[สวาซิแลนด์]] [[แทนซาเนีย]] [[ยูกันดา]] [[แซมเบีย]]และ[[ซิมบับเว]] นอกจากนี้ยังมีบางประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการร่วมในบางดินแดน เช่น [[กลุ่มเกาะซันอันเดรส โปรบีเดนเซีย และซันตากาตาลีนา]]ของโคลอมเบีย และ[[มัสคีโทโคสท์]]ของนิการากัว ซึ่งเป็นผลจากการยึดเป็นอาณานิคมของอังกฤษในพื้นที่
 
ภาษาอังกฤษยังเป็นหนึ่งใน 11 ภาษาราชการที่ได้รับสถานภาพเท่ากันในแอฟริกาใต้ ภาษาอังกฤษยังเป็นภาษาราชการใน[[ดินแดนในภาวะพึ่งพิง]]ปัจจุบันของออสเตรเลีย ([[เกาะนอร์ฟอล์ก]] [[เกาะคริสต์มาส]]และ[[หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)|เกาะโคคอส]]) และสหรัฐอเมริกา ([[อเมริกันซามัว]] [[กวม]] [[หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา]] [[เปอร์โตริโก]] และ[[หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา]] และอดีตอาณานิคมอังกฤษ [[ฮ่องกง]]
 
แม้รัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกาจะไม่มีภาษาราชการ แต่ภาษาอังกฤษได้รับสถานะราชการโดยรัฐบาลของ 30 จาก 50 รัฐ แม้จะมิได้ระบุสถานะราชการ ภาษาอังกฤษยังเป็นภาษาสำคัญในอดีตอาณานิคมและรัฐในอารักขาของสหราชอาณาจักรหลายแห่ง เช่น [[บาห์เรน]] [[บังกลาเทศ]] [[บรูไน]] [[ไซปรัส]] [[มาเลเซีย]]และ[[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]]
 
=== ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล ===
ภาษาอังกฤษมักถูกเรียกว่าเป็น "[[ภาษาสากล]]" เพราะมีการพูดอย่างกว้างขวาง และแม้จะมิใช่ภาษาราชการในประเทศส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบัน มีการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมากที่สุด ตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของการสื่อสารการบิน<ref>{{cite web|url=http://www.icao.int/Newsroom/Pages/icao-promotes-aviation-safety-by-endorsing-english-language-testing.aspx |title=ICAO Promotes Aviation Safety by Endorsing English Language Testing |publisher=International Civil Aviation Organization|date=13 October 2011}}</ref>และในทะเล<ref>{{cite web |url=http://www.imo.org/Safety/index.asp?topic_id=357 |title=IMO Standard Marine Communication Phrases |publisher=International Maritime Organization |archiveurl=https://web.archive.org/web/20031227092334/http://www.imo.org/Safety/index.asp?topic_id=357 |archivedate=2003-12-27 |access-date=2013-05-09 |url-status=live }}</ref> ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหประชาชาติและองค์การระหว่างประเทศอีกหลายแห่ง ซึ่งรวมถึง[[คณะกรรมการโอลิมปิกสากล]]
 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่มีการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศมากที่สุดในสหภาพยุโรป ถึง 89% ในเด็กวัยเรียน นำหน้าภาษาฝรั่งเศสที่ 32% ขณะที่การรับรู้ประโยชน์ของภาษาต่างประเทศในบรรดาชาวยุโรป คือ 68% สนับสนุนภาษาอังกฤษ มากกว่าภาษาฝรั่งเศสที่ 25%<ref name="srv06">[http://ec.europa.eu/education/languages/pdf/doc631_en.pdf 2006 survey] by [[Eurobarometer]].</ref> ในบรรดาบางประเทศสหภาพยุโรปที่ไม่พูดภาษาอังกฤษ ประชากรผู้ใหญ่จำนวนมากอ้างว่าสามารถสนทนาภาษาอังกฤษได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สวีเดน 85%, เดนมาร์ก 83%, เนเธอร์แลนด์ 79%, ลักเซมเบิร์ก 66% และในฟินแลนด์ สโลวีเนีย ออสเตรเลีย เบลเยียมและเยอรมนี กว่า 50%<ref>{{cite web|url=http://ec.europa.eu/public_opinion/archives/ebs/ebs_237.en.pdf |title=Microsoft Word&nbsp;– SPECIAL NOTE Europeans and languagesEN 20050922.doc |format=PDF |accessdate=21 April 2010}}</ref> ในปี 2555 หากไม่นับผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ชาวยุโรป 38% มองว่าตนสามารถพูดภาษาอังกฤษ<ref>http://ec.europa.eu/public_opinion/archives/ebs/ebs_386_en.pdf</ref> แต่ชาวญี่ปุ่นเพียง 3% ที่มองเช่นนั้น<ref name="net-lang.net">{{Cite web |url=http://net-lang.net//externDisplayer/displayExtern/_path_/netlang_EN_pdfedition.pdf |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2013-05-09 |archive-date=2013-05-12 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130512073222/http://net-lang.net/externDisplayer/displayExtern/_path_/netlang_EN_pdfedition.pdf |url-status=dead }}</ref>
 
หนังสือ นิตยสารและหนังสือพิมพ์ที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษพบได้ในหลายประเทศทั่วโลก และภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้มากที่สุดในแวดวงวิทยาศาสตร์ โดยดัชนีการอ้างอิงวิทยาศาสตร์รายงานเมื่อปี 2540 ว่า บทความของดัชนีฯ 95% เขียนในภาษาอังกฤษ แม้เพียงครึ่งหนึ่งจะมาจากผู้ประพันธ์ในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ
 
วรรณกรรมภาษาอังกฤษคิดเป็น 28% ของวรรณกรรมทั้งหมดที่ตีพิมพ์ทั่วโลก และคิดเป็น 30% ของเนื้อหาเว็บในปี 2554 (จาก 50% ในปี 2543)<ref name="net-lang.net"/>
 
การใช้ภาษาอังกฤษที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกนี้ได้มีผลกระทบใหญ่หลวงต่อภาษาอื่นจำนวนมาก จนนำไปสู่ภาษาเปลี่ยนหรือกระทั่งภาษาตาย<ref>David Crystal (2000) Language Death, Preface; viii, Cambridge University Press, Cambridge</ref> และการอ้างจักรวรรดินิยมทางภาษา<ref name="one"/> ภาษาอังกฤษเองก็เปิดรับการเปลี่ยนแปลงทางภาษามากขึ้น เพราะความหลากหลายในภูมิภาคป้อนกลับไปยังภาษาโดยรวมเช่นกัน<ref name="one">{{cite journal|author=Jambor, Paul Z. |title=English Language Imperialism: Points of View|journal= Journal of English as an International Language|date=April 2007 |volume =2| pages =103–123|url=http://www.eilj.com/index.php?option=com_phocadownload&view=category&download=15:2-december-2007&id=3:free-journals}}</ref>
 
== ระบบการเขียน ==