ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
Patawann (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: อัพเดท02082021
บรรทัด 40:
 
== ประวัติ ==
คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 ที่[[ถนนลาดปลาเค้า|ย่านลาดปลาเค้า]] [[เขตลาดพร้าว|ตำบลลาดพร้าว]] [[อำเภอบางกะปิ]] [[จังหวัดพระนคร]] (ปัจจุบันเป็น [[เขตลาดพร้าว]] [[กรุงเทพมหานคร]]) เป็นบุตรสาวของนาย[[สมพล เกยุราพันธุ์]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา]] - นางเรณู เกยุราพันธ์ คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ได้สมรสกับนายสมยศ ลีลาปัญญาเลิศ นักธุรกิจชาวไทย มีบุตร-ธิดาชาย รวมทั้งหมด 32 คน คือธิดา ภูมิภัทร,1 พีรภัทรคน และยศสุดารวมทั้งหมด ลีลาปัญญาเลิศ3 ตามลำดับคน
 
# นายภูมิภัทร ลีลาปัญญาเลิศ
จบมัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์]] สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านการตลาด จาก[[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (Shi 41) และระดับปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จาก[[สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์]]<ref>[http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/166587#.UjQ8KNK9WWw</ref> สำเร็จการศึกษาปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา จากคณะบัณฑิตวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
# นายพีรภัทร ลีลาปัญญาเลิศ
# นางสาวยศสุดา ลีลาปัญญาเลิศ
 
== การศึกษา ==
== การเมือง ==
 
* มัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์]]
* ปริญญาตรี [[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (สาขาการตลาด)
* ปริญญาโท [[สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (MBA จาก GIBA)
* ปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา จากคณะบัณฑิตวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
* ปริญญาเอก ศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม [[มหาวิทยาลัยนครพนม]]
 
== ประวัติการทำงาน ==
คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย มีนาคม พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535]] ได้เป็น ส.ส. ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] ในเขต 12 (มีนบุรี, บางเขน, หนองจอก, ดอนเมือง ยกเว้นแขวงทุ่งสองห้อง) ของ[[พรรคพลังธรรม]] แต่หลังจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬที่ พล.ต. [[จำลอง ศรีเมือง]] ได้วางมือทางการเมืองแล้ว พรรคพลังธรรมก็ได้ผลัดเปลี่ยนหัวหน้าพรรคหลายคน มาจนถึง [[ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นหัวหน้าพรรค คุณหญิงสุดารัตน์ก็ได้สนิทสนมกับ [[ทักษิณ ชินวัตร]] พร้อมกับสมาชิกพรรคอีกหลายคนซึ่งส่วนใหญ่เป็น ส.ส. ในกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2539 พรรคพลังธรรมมี ส.ส. เหลือเพียงคนเดียว คือ คุณหญิงสุดารัตน์นี่เอง และในปี พ.ศ. 2541 เมื่อ ดร.[[ทักษิณ ชินวัตร]] ได้ออกมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย คุณหญิงสุดารัตน์ก็เป็นหนึ่งใน 23 บุคคลที่ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย และก็ได้ร่วมงานกับทางพรรคมาจนบัดนั้น
 
เส้น 57 ⟶ 67:
 
== ตำแหน่งทางการเมือง ==
 
* เลขาธิการ[[พรรคพลังธรรม]]
* 22 มีนาคม 2535 เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย มีนาคม พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535]] ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[กรุงเทพมหานคร]] เขต 12 [[พรรคพลังธรรม]] (บางเขน, หลักสี่, ดอนเมือง, สายไหม, มีนบุรี, หนองจอก, คลองสามวา) ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ประมาณ 1/3 ของพื้นที่ทั้งกรุงเทพมหานคร
* หัวหน้า[[กลุ่มรวมพลังไทย]]
 
* หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง[[พรรคไทยรักไทย]]
* 13 กันยายน 2535 ได้รับการเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] กรุงเทพมหานคร เขต 7 พรรคพลังธรรม (ลาดพร้าว, วังทองหลาง, บางกะปิ, บึงกุ่ม, คันนายาว, สะพานสูง) และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (สมัยรัฐบาลชวน 1/1)
* รองหัวหน้า[[พรรคไทยรักไทย]]
 
* พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 12 บางเขน ดอนเมือง หนองจอก และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 บางกะปิ บึงกุ่ม ลาดพร้าว
* สิงหาคม 2536 การจัดตั้งมูลนิธิผู้หญิงเพื่อประชาธิปไตย และกลุ่มผู้หญิงกับการเมือง ซึ่งต่อมา  พัฒนาเป็นสถาบันผู้หญิงกับการเมือง (เพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงได้มีความรู้ความเข้าใจในการเมือง ที่ถูกต้อง และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองมากขึ้น)
* พ.ศ. 2535 รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/138/30.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 218/2535 เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (1นายมนตรี ด่านไพบูลย์ 2 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 3 นายธำรงค์ ไทยมงคล)]</ref>
 
* พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงคมนาคม]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/E/050/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref>
* พ.ศ. 2537 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขาธิการ[[พรรคพลังธรรม]] (เป็นเลขาธิการพรรคผู้หญิงคนแรก)
* พ.ศ. 2538 รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]
 
* พ.ศ. 2544 รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงสาธารณสุข]]
* 25 ตุลาคม 2537 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงคมนาคม]] (รัฐบาลชวน 1/2)
* พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00154678.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref>
 
* 2 กรกฎาคม 2538 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 7 พรรคพลังธรรม (บางกะปิ, บึงกุ่ม, วังทองหลาง, คันนายาว, สะพานสูง)
 
* 18 กรกฎาคม 2538 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]](เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยหญิงคนแรก) (สมัยรัฐบาลบรรหาร 1)
 
* 17 พฤศจิกายน 2539 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 7 (บางกะปิ, บึงกุ่ม, วังทองหลาง, คันนายาว, สะพานสูง) โดยเป็น ส.ส. ของพรรคพลังธรรม เพียงคนเดียวในสภา
 
* ธันวาคม 2541 จัดตั้งโครงการ “ไทยพึ่งไทย” เพื่อช่วยเหลือผู้หญิงที่ตกงานให้สามารถสร้างงานสร้างอาชีพของตนเองได้ในยามที่ประเทศกำลังประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ
 
* พ.ศ. 2541 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้า[[พรรคไทยรักไทย]]
 
* 9 มกราคม 2544 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคไทยรักไทย
 
* 17 กุมภาพันธ์ 2544 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงสาธารณสุข]]
 
* 13 มีนาคม 2548 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]
 
* 30 พฤษภาคม 2550 ถูกตัดสิทธิ์ 5 ปี (30 พ.ค. 50 -30 พ.ค. 55) พรรคไทยรักไทยถูกยุบ เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549]]
 
* 5 ตุลาคม 2554 รับแต่งตั้งดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการโครงการ “หนึ่งใจ...ช่วยเหลือผู้ประสบภัย และสู้ภัยพิบัติแห่งชาติ” มูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ใน[[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]]
* ปัจจุบัน ประธานกรรมการมูลนิธิไทยพึ่งไทย ประธานกรรมการผู้ก่อตั้งสถาบันสร้างไทย
 
== การศึกษาอบรม ==
 
* ปี พ.ศ. 2552    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 9
* ปี พ.ศ. 2554    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานครรุ่น 1) สถาบันพัฒนาเมือง
* ปี พ.ศ. 2555    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ภูมิพลังแผ่นดิน รุ่นที่ 1
* ปี พ.ศ. 2555   หลักสูตรเสาหลักของแผ่นดิน : ผู้นำระดับสูงตามรอยเบื้องพระยุคลบาท รุ่นเกียรติยศของสมาคมสถาบันศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์    
* ปี พ.ศ. 2555   หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่น 1  (วพน.1) สถาบันวิทยาการพลังงาน
* ปี พ.ศ. 2556    หลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารทางการแพทย์ รุ่น 2 (ปธพ.2)
* ปี พ.ศ. 2556    หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา  บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
* ปี พ.ศ. 2559    หลักสูตรภาษาจีนนักธุรกิจชั้นสูง รุ่นที่ 1 (BLCA)  สถาบันวิทยาการภาษา และวัฒนธรรมปักกิ่งฺ     
 
  (มี.ค.-ส.ค.)       Beijing Language and Culture Academy   (1 เม.ย.-27 ส.ค.59-รุ่น 1 ระดับ 1)
 
* ปี พ.ศ. 2560    อบรมหลักสูตร "Difference : How to harness business creativity" รุ่นที่ 7
 
  (ก.ค.-พ.ย.)       สถาบันพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of Business Creativity : ABC)   มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 
* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร "The Story –The Ultimate Leadership Tool” รุ่นที่ 1
 
  (ม.ค.-เม.ย.)     สถาบันพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of Business Creativity : ABC)   มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 
* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร “วิทยาการการจัดการสำหรับนักบริหารระดับสูง” (วบส.) รุ่นที่ 1
 
  (ก.พ.-มิ.ย.)       (Advanced Master of Managerment Program, AMM)  คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
 
* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตรเศรษฐกิจอนาคต และธรรมาภิบาลอินเตอร์เน็ต สำหรับผู้บริหารระดับสูง
 
  (ก.ย.-พ.ย.)      รุ่นที่ 1  (Future Economy & Internet Governance Executive Program : FEGO) ของสถาบันเศรษฐกิจอนาคต และธรรมาภิบาลอินเตอร์เน็ต โดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
 
(องค์การมหาชน) : สพธอ. ETDA
 
* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร Leading Digital Transformation สำหรับผู้บริหาร เจ้าของธุรกิจ และผู้นำองค์กร
 
  (ต.ค.-ธ.ค.)       โดยบริษัท อีเอ็กซ์ จำกัด                     
 
== รางวัลและเกียรติยศ ==
 
* พ.ศ. 2539 รับพระราชทานยศ[[กองอาสารักษาดินแดน]] เป็น นายกองเอก สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/B/003/79.PDF</ref>
* พ.ศ. 2539 รับพระราชทานยศ[[กองอาสารักษาดินแดน]] เป็น นายกองเอก สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
* พ.ศ. 2539 Thailand Tatler Award Most talked about personality of the year จัดโดย Thailand Tatler
 
* พ.ศ. 2539 รางวัลเกียรติคุณวิจิตรแพรวา เป็นผู้นำการแต่งกายด้วยผ้าไหมแพรวา จัดโดยจังหวัดกาฬสินธุ์
* Thailand Tatler Award Most talked about personality of the year จัดโดย Thailand Tatler ปี 2539
* พ.ศ. 2540 ศิษย์เซนต์โยเซฟตัวอย่าง “นวุฒิพรรษ” สาขาการเมือง (ผู้มีความประพฤติดี และรางวัลมารยาทงาม) จัดโดยสมาคมศิษย์เซนต์โยเซฟ คอนเวนต์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
 
* พ.ศ. 2544 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
* รางวัลเกียรติคุณวิจิตรแพรวา เป็นผู้นำการแต่งกายด้วยผ้าไหมแพรวา จัดโดยจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2539
 
* ศิษย์เซนต์โยเซฟตัวอย่าง “นวุฒิพรรษ” สาขาการเมือง (ผู้มีความประพฤติดี และรางวัลมารยาทงาม) จัดโดยสมาคมศิษย์เซนต์โยเซฟ คอนเวนต์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2540
 
* รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2540
 
* รางวัลนิสิตเก่าดีเด่น ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
* พ.ศ. 2540 ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นยอดหญิง 2540 โดยสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี
* ยอดหญิง 2540 โดยสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี ปี 2540
* สาวเปรียว ประจำปี พ.ศ. 2541 จากนิตยสารเปรียว
 
* พ.ศ. 2541 ได้รับการประกาศเกียรติคุณได้รับโหวตจากผู้ฟังรายการ “เวทีผู้หญิง” เป็นสตรีเพชรงามในสายอาชีพ นักการเมือง
* สาวเปรียว ประจำปี 2541 จากนิตยสารเปรียว
* พ.ศ. 2541 คนรักรัฐธรรมนูญ จัดโดยชมรมคนรักรัฐธรรมนูญร่วมกับรัฐสภา
 
* พ.ศ. 2546 นักสุขศึกษาดีเด่น สาขาการบริหารนโยบาย จากสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา
* ประกาศเกียรติคุณได้รับโหวตจากผู้ฟังรายการ “เวทีผู้หญิง” เป็นสตรีเพชรงามในสายอาชีพนักการเมือง ปี 2541
* พ.ศ. 2546 Tobacco-Free World Award 2003 จากองค์การอนามัยโลก (WHO)
 
* รับพระราชทานรางวัล Mental Health Princess Award ในฐานะผู้มีผลงานด้านสุขภาพจิตและยาเสพติดระหว่างประเทศดีเด่น จาก[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] เมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2546
* คนรักรัฐธรรมนูญ จัดโดยชมรมคนรักรัฐธรรมนูญร่วมกับรัฐสภา ปี 2541
 
* นักสุขศึกษาดีเด่น สาขาการบริหารนโยบาย จากสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ปี 2546
 
* Tobacco-Free World Award 2003 จากองค์การอนามัยโลก (WHO)
 
* 19 สิงหาคม 2546 รับพระราชทานรางวัล Mental Health Princess Award ในฐานะผู้มีผลงานด้านสุขภาพจิตและยาเสพติดระหว่างประเทศดีเด่น จาก[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]
 
* สตรีไทยดีเด่น ด้านทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ประจำปี พ.ศ. 2547 ของสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์
 
* พ.ศ. 2561 ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม จาก [[มหาวิทยาลัยนครพนม]]
* 17 พฤษภาคม 2554 รับประกาศเกียรติคุณและแสดงความขอบคุณ ในฐานะบุคคลผู้ทำคุณประโยชน์แก่ประเทศเนปาล ในการจัดทำโครงการบูรณปฎิสังขรณ์สถานที่ประสูติองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
 
* รางวัล “ตาราอวอร์ด” รางวัลสำหรับคนปลุกหัวใจสังคมด้วยหัวใจโพธิสัตว์ จากเสถียรธรรมสถาน
 
* โล่รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา จากสมเด็จพระวันรัต ผู้แทนพระองค์สมเด็จพระสังฆราชมหาวิทยาลัยมกุฎราชกุมารวิทยาลัย
 
* 15 กุมภาพันธ์ 2557  รับรางวัลผู้นำพุทธโลก World Buddhist Outstanding Leader Award  จากองค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก และ[[สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ]]
 
* 6 มิถุนายน 2558  รับรางวัล “เสาอโศกผู้นำศีลธรรม” ของสมาคมผู้ทำคุณประโยชน์ เพื่อพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พลเอกธงชัย เกื้อสกุล นายกสมาคมฯ) รับจาก[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ]] (Received  "Asoka Pillar Trophy Religion Leader" fromThe Association of distinguished contributors to Buddhism of Thailand)
 
* 18 กรกฎาคม 2563 รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ด้านการพัฒนาสังคมและ/หรือบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ประจำปี 2563 เนื่องในวันบุรพาจารย์ฯ ของสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  (มจร.)  
 
* 19 กรกฎาคม 2563  รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา และสังคม” โครงการทำความดีด้วยใจ เทิดไท้องค์ราชัน เฉลิมพระเกียรติวันเฉลิมฯ ร.10 ของกรมการศาสนา วัดลาดปลาเค้า คณะสงฆ์เขตลาดพร้าว
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
 
{{ม.ป.ช.|2542}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/B/020V001/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย] [ที่ปรึกษา ผู้ชำนาญการ นักวิชาการและเลขานุเการฯ ประจำสภาผู้แทนราษฎร], เล่ม 116 ตอน 20 ฉบับทะเบียนฐานันดร, 2 ธันวาคม พ.ศ. 2542 หน้า 8 ลำดับ 278</ref>{{ม.ว.ม.|2539}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/B/022/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ชั้นสายสะพาย)], เล่ม 113, ตอน 22 ฉบับทะเบียนฐานันดร 4 ธันวาคม พ.ศ. 2539 หน้า 17 ลำดับ 388</ref>
* 5 ธันวาคม 2535 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)
{{ป.ภ.|2548}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00177251.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ให้แก่บุคคลที่ช่วยเหลือผู้ประสบธรณีพิบัติภัย "สึนามิ"] [สำนักนายกรัฐมนตรี], เล่ม 122 ตอน 23 ฉบับทะเบียนฐานันดร, 3 ธันวาคม พ.ศ. 2548 หน้า 2 ลำดับ 9</ref>
* 5 ธันวาคม 2536 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
{{จ.จ.|2548}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00157259.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า], เล่ม 122, ตอน 6 ฉบับทะเบียนฐานันดร, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 , หน้า 3 ลำดับ 1</ref>
* 5 ธันวาคม 2537 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
* 5 ธันวาคม 2538 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
* 5 ธันวาคม 2539 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
* 5 ธันวาคม 2542 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
* 5 พฤษภาคม 2548 ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]] ชั้น [[จตุตถจุลจอมเกล้า]] (จ.จ.)
* 5 ธันวาคม 2548 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.)  “ชั้นสายสะพาย”
 
== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ==
 
* ผลักดันให้เกิดการวางโครงสร้างการแก้ไขปัญหาการจราจรอย่างเป็นระบบทั้งแผนการแก้ไขปัญหาจราจรระยะสั้น & ระยะยาว
 
* ผ่าตัดระบบการผูกขาดของบริษัท ขนส่ง จำกัด เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานให้ดีขึ้น
 
* แก้ไขปัญหาระบบการทำงานของ รสพ. ที่ประสบภาวะขาดทุน ให้มีผลประกอบการเป็นกำไร เป็นครั้งแรกตั้งแต่ก่อตั้ง รสพ.
 
* ผลักดันให้มีสถานีขนส่งแห่งใหม่ ทำให้เกิดความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ และลดความแออัดคับคั่งของการจราจรลงได้
 
== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ==
 
* เร่งเพิ่มพื้นที่ผิวจราจร โดยจัดระบบโครงข่ายถนนใน กทม. ให้ประสานเชื่อมโยงถึงกัน เพื่อให้สามารถระบายรถได้เร็วขึ้น โดยไม่ผ่านกลางเมือง หรือไม่ต้องใช้ถนนสายหลักเดิมที่ติดขัดอยู่แล้ว จำนวน 40 สาย ระยะทางกว่า 120 กิโลเมตร
 
* เร่งรัดการสร้างถนนสายรอง และตัดทะลุตรอก ซอก  ซอย ใน กทม. จำนวน 12 เส้นทาง โครงการก่อสร้างสะพานข้ามทางแยกจำนวน 6 ทางแยก, โครงการสร้างอุโมงค์ลอดถนน 5 แห่ง
 
* เร่งรัดและผลักดันโครงการของกรมโยธาธิการ ประกอบด้วย โครงการถนนสายหลักและสายรอง 13 สาย, โครงการสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 5 สะพาน
 
* ผลักดันให้เกิดการวางระบบทางด่วนที่เป็นเครือข่ายครบวงจร และเร่งรัดให้สามารถเปิดใช้ได้เร็วขึ้น เช่น ทางด่วนขั้นที่ 2 ช่วงพญาไท บางโคล่, โครงการรามอินทรา - อาจณรงค์ ช่วงรามอินทรา - พระราม 9 และช่วงพระราม 9 - อาจณรงค์, โครงการทางด่วนสายบางนา – บางพลี - บางประกง ช่วงบางนา - วัดศรีเอี่ยม, ปรับปรุงทางขึ้นลง สุขุมวิท - เพชรบุรี และบริเวณทางแยกต่างระดับคลองเตย เพื่อแก้ปัญหาคอขวดของการจราจร
 
* ผลักดันให้เกิดโครงการระบบขนส่งมวลชนในจังหวัดเชียงใหม่ 4 เส้นทาง และโครงการสำรวจข้อมูลและศึกษาสภาพการจราจร และการขนส่งในเมืองภูมิภาค รวม 7 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา พิษณุโลก ขอนแก่น ภูเก็ต สงขลา ฉะเชิงเทรา และนครศรีธรรมราช
 
* เร่งรัดโครงการเมืองบริวารและชุมชนย่อย เพื่อสกัดกั้นและกระจายคนออกจากกรุงเทพฯ
 
* การรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามกฎจราจร เพื่อลดปัญหาการจราจร
 
* เริ่มมาตรการการเคร่งครัดการจับกุมผู้กระทำผิดกฎจราจร เพื่อให้มีการสร้างวินัยจราจรที่ดีขึ้น
 
== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ==
 
==== 1.        '''นโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า''' ====
-           การดำเนิน'''[[โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค]]'''
 
-           '''โครงการโมบายคลินิก  '''จัดทำขึ้นเพื่อสนองแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยประชาชนที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร ให้ได้รับการบริการอย่างทั่วถึง มีระบบติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง
 
-           '''ศูนย์สุขภาพชุมชน'''  เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ สถานพยาบาลใกล้บ้าน ใกล้ใจ
 
-           '''การจัดศูนย์ผ่าตัดโรคหัวใจในภูมิภาค'''  4 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี พิษณุโลก ยะลา นครราชสีมา
 
-           '''ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน'''  ช่วยให้ประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤติ และอยู่ห่างไกลจากโรงพยาบาลให้ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที แล้วยังส่งผลให้การรอดชีวิตมีอัตราที่สูงขึ้น ความพิการน้อยลง รวมทั้งให้คำปรึกษาช่วยผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือได้รับการเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยทางโทรศัพท์หมายเลข 1669
 
==== 2.        '''นโยบายการแก้ปัญหายาเสพติด''' ====
-           '''การดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด To be Number 1''' มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก โดยกลวิธีสร้างกระแสการไม่ข้องแวะกับยาเสพติด รวมถึงการสร้างพลังที่ถูกต้อง เสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิต ซึ่งโครงการนี้ได้รับพระกรุณาธิคุณจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ทรงรับเป็นองค์ประธานคณะกรรมการอำนวยการ และเสด็จเป็นองค์นำการจัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ ที่สำคัญมีการจัดตั้งชมรม To be Number one club ในชุมชนจำนวน 27,122 ชมรม ในสถานศึกษาจำนวน 16,472 ชมรม และในสถานประกอบการจำนวน 22,701 ชมรม รวมถึงการรับสมัครสมาชิก ขณะนี้มีสมาชิกจำนวนกว่า 20,531,253 คน ทั่วประเทศ
 
-           '''ฮอตไลน์สายด่วนยาเสพติด'''หมายเลข 1165 ด้วยระบบอัตโนมัติ มีรายการให้เลือกฟังกว่า 500 รายการ สามารถรับฟังข้อมูลเรื่องโทษยาเสพติด การช่วยเหลือ - เฝ้าระวังผู้ติดยา แนวทางการป้องกันและสถานที่บำบัด รวมถึงการสอบถามได้โดยตรงกับผู้เชี่ยวชาญด้านยาเสพติด
 
-           การเตรียมความพร้อม สถานบำบัดรองรับผู้ติดยาเสพติด การพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนให้มีการบำบัดตามมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ พัฒนาระบบการบำบัดแบบจิต สังคมบำบัด Matrix Program
 
==== 3.        '''นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพดี''' ====
การประกาศให้ปี 2545 เป็นปีแห่งการเริ่มต้นรณรงค์สร้างสุขภาพทั่วไทย โดยใช้ยุทธศาสตร์รวมพลังสร้างสุขภาพ
 
-           '''การออกกำลังกาย''' รณรงค์ให้ประชาชนคนไทยหันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ลดโรคสำคัญที่ทำให้เกิดอัตราการตายสูงของคนไทย เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคเบาหวานและความดันโลหิต ปรากฏว่าปัจจุบันมีชมรมสร้างสุขภาพที่มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นจาก 10,638 ชมรม เป็น 35,184 ชมรม และมีผู้ออกกำลังกายเพิ่มขึ้นจาก 11.5 ล้านคน เป็น 25.2 ล้านคน
 
-           '''การจัดงานรวมพลคนเสื้อเหลือง''' เมื่อ 23 พ.ย. 45 สามารถรวมพลังประชาชนมาออกกำลังกายได้สูงสุดถึง 46,824 คน ใช้เวลาออกกำลังกายนาน 61 นาที ทำลายสถิติโลกและได้ถูกบันทึกลงในกินเนสบุ๊ค และจะมีการจัดงานขึ้นทุกปีเพื่อให้ประชาชนนิยมการออกกำลังกายป้องกันการเกิดโรคตลอดไป
 
-           '''โครงการวิ่ง 30 สู่สุขภาพดี''' เพื่อกระตุ้นและจุดประกายให้เด็กนักเรียนทั่วประเทศได้ออกกำลังกายและเล่นกรีฑาเป็นทีม สร้างสีสันในการส่งเสริมการออกกำลังกาย มีกติกาทีมละ 30 คน วิ่งผลัดในระยะทาง 400 เมตร ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที ผลที่ได้รับมีทั้งสุขภาพแข็งแรง และการฝึกการทำงานเป็นทีม
 
-           '''โครงการขยับกายสบายชีวี''' ส่งเสริมให้สถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจัดให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายในสถานประกอบการ ทำให้คนทำงานได้มีการออกกำลังกายในสถานที่ที่เหมาะสม ไม่ว่าอยู่ที่บ้านหรือที่ทำงาน โดยออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันวันละ 30 นาที
 
-           '''โครงการสวนสาธารณะรื่นรมย์''' ให้ประชาชนมีสถานที่ออกกำลังกายและพักผ่อนหย่อนใจที่มีความสะอาด ปลอดภัย ไร้มลพิษ มีชีวิตชีวา ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยเสริมสร้างสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็ง เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
 
-           '''โครงการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่''' พัฒนารูปแบบการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก และอบรมผู้ดูแลเด็กเล็กของศูนย์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการให้บริการอบรมดูแลเด็กให้มีคุณภาพดี
 
-           '''โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ''' เพื่อพัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาลซึ่งเป็นแหล่งบำบัดรักษาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพให้สามารถดำเนินการส่งเสริม สร้างเสริมสุขภาพมิให้คนกลับมาป่วยซ้ำ
 
-           '''โครงการมุมเพื่อนใจวัยรุ่น''' เพื่อให้วัยรุ่นสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับความต้องการของวัยรุ่น ลดปัญหาและมีทางออกในการแก้ไขปัญหาที่ถูกวิธี โดยตั้งมุมเพื่อนใจวัยรุ่น ตามแหล่งที่วัยรุ่นชอบไป เช่น ศูนย์การค้า
 
==== 4.        '''นโยบายการสร้างความปลอดภัยอาหารแห่งชาติ''' ====
Food Safety เพื่อสุขภาพที่ดีของชาวไทย และเพื่อส่งเสริมการส่งออกอาหารไทยออกไปทั่วโลก โดยจะมีการรณรงค์และเผยแพร่คุณภาพมาตรฐานอาหารของไทยให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและกว้างขวางออกไปสู่การยอมรรับทั้งในและต่างประเทศ โดยเน้นมาตรฐานความสะอาดและความปลอดภัยของอาหารหลัก 3 กลุ่ม คือ อาหารสด อาหารแปรรูป และอาหารปรุงจำหน่าย
 
-           '''อาหารสด''' ได้รับการแก้ไขจนอยู่ในระดับที่น่าพอใจ คือ การปนเปื้อนบอแรกซ์จากร้อยละ 42 ลดลงเหลือ 0.55 สารกันราจากร้อยละ 17.2 ลดลงเหลือ 3.6 ฟอร์มาลินจากร้อยละ 10 ลดลงเหลือ 1.69 สารฟอกขาวจากร้อยละ 10 ลดลงเหลือ 3.48 ซึ่งอาหารสดที่ได้รับการตรวจจากกระทรวงสาธารณสุข จะได้รับป้ายอาหารปลอดภัย โดยขณะนี้ได้มอบป้ายไปแล้ว 57,267 ป้าย
 
-           '''อาหารแปรรูป''' กระทรวงสาธารณสุขได้ดูแลอย่างเข้มงวด โดยการควบคุมมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร 54 ประเภททั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 9,609 แห่ง ผ่านมาตรฐานตามวิธีการที่ดีในการผลิต (GMP) ตามมาตรฐานสากล 3,334 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.64
 
-           '''อาหารปรุงจำหน่าย''' ในร้านอาหาร ภัตตาคาร และแผงลอยทั่วไป ได้เข้มงวดเรื่องความสะอาด และสุขลักษณะของสถานที่ อาหาร ภาชนะ และผู้ปรุงประกอบ ซึ่งสังเกตได้จากป้าย “อาหารสะอาดรสชาติอร่อย” หรือ “Clean food Good Taste” โดยมอบป้ายไปแล้ว 17,404 ป้าย
 
-           '''ความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรียน''' หรือ '''“อย.น้อย”''' โดยร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการตรวจสอบอาหารในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง ซึ่งมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการกว่า 5,154 แห่งทั่วประเทศ และจะดำเนินการขยายผลการดำเนินงานทุกแห่งทั่วประเทศต่อไป
 
-           '''โครงการตลาดสดน่าซื้อ /''' clean food good taste / food for health เป็นการควบคุมให้ตลาดสดจำหน่วยสินค้าที่ปลอดภัยไร้สารพิษ ปัจจุบันมีตลาดสดเข้าร่วมโครงการ 731 แห่ง
 
-           '''โครงการคุ้มครองความปลอดภัยอาหารตัดแต่งพันธุกรรม''' (จีเอ็มโอ) ดำเนินงานเร่งรัดการสร้างกรอบกำหนดค่ามาตรฐานสารปนเปื้อนขึ้น มีการพัฒนาประสิทธิภาพเครื่องมือการตรวจหาสัดส่วนของสารปนเปื้อนที่อยู่ในอาหารแปรรูป กำหนดให้ติดฉลากเพื่อระบุว่าอาหารนั้นมีสารจีเอ็มโออยู่ด้วยหรือไม่ เพื่อให้ประชาชนสามารถตัดสินใจในการเลือกบริโภค
 
-           '''โครงการแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยในเนื้อหมู'''จากสารเร่งเนื้อแดง/สารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักผลไม้/ยาสัตว์ตกค้างและเชื้อจุลินทรีอาหารเป็นพิษ/ยาต้านจุลชีพในกุ้งเลี้ยง/สาร 3-เอ็มพีซีดี
 
==== 5.        '''นโยบายลดโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญ''' ====
-           โครงการรณรงค์ลดการสูบบุหรี่
 
-           โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก
 
-           โครงการรณรงค์แก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก
 
-           โครงการแก้ปัญหาโรคเอดส์ ให้ผู้ป่วยเข้าถึงยาต้านไวรัศเอดส์
 
-           โครงการรณรงค์ลดปัญหาอุบัติเหตุจราจร
 
==== 6.        '''นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขระหว่างประเทศ''' ====
-           ความร่วมมือประเทศกัมพูชา พม่า ลาว แก้ปัญหาสาธารณสุขชายแดน
 
-           ความร่วมมือประเทศเนเธอร์แลนด์แก้ปัญหายาเสพติด
 
-           การผลักดันองค์การอนามัยโลกหนุนนโยบายถุงยางอนามัย 100 % ป้องกันโรคเอดส์
 
-           ความร่วมมือองค์การอนามัยโลก ถ่ายทอดประสบการณ์การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้นแบบ
 
-           การผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือด้านสาธารณสุข 6 ประเทศลุ่มน้ำโขง
 
-           การเจรจาลดค่าสมาชิกองค์การอนามัยโลก
 
-           โครงการความร่วมมือประเทศอิตาลี ผลิตเข็มฉีดยาปลอดภัย
 
-           โครงการความร่วมมือประเทศญี่ปุ่น ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบพักผ่อนระยะยาว (Long stay)
 
-           โครงการความร่วมมือประเทศจีน พัฒนาสมุนไพรและการส่งออกยาต้านไวรัสเอดส์
 
==== 7.        '''นโยบายการพัฒนาศักยภาพการสาธารณสุข''' ====
-           โครงการพัฒนา “'''นวดแผนไทย”''' เพื่อการส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
 
-           '''โครงการพัฒนาองค์การเภสัชกรรม''' ผลิตยาคุณภาพ ส่งออกตลาดเสรี มีระบบบริหารจัดการในองค์การที่ทันสมัย เป็นแบบอย่างในการผลิตยาได้มาตรฐาน สนับสนุนการผลิตยาสมุนไพรทดแทนการนำเข้า
 
-           '''โครงการจัดตั้งธนาคารสมอง''' สนองพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อรวบรวมผู้เกษียณอายุที่มีความรู้ความสามารถเป็นอาสาสมัครช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุข พร้อมใช้เป็นต้นแบบขยายการจัดตั้งให้ครบทุกจังหวัด
 
== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ==
 
==== 1.    นโยบายการปรับโครงสร้างการผลิตการเกษตร ====
-           การเปิดและขยายตลาดสินค้าเกษตร เจรจาเพื่อลดข้อกีดกันทางการค้า รวมทั้งประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรในตลาดต่างประเทศ ทำให้สินค้าเกษตรไทยส่งออกได้เพิ่มขึ้น
 
-           การปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร  ให้เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร เพื่อแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตร
 
-           แผนความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) พัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน กำหนดให้มีการใช้สัญลักษณ์รูปตัว Q  เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงคุณภาพสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย ได้มาตรฐานของประเทศและสากล
 
==== 2.   สนองโครงการพระราชดำริ ====
-           การผลักดันให้เกิดกรมข้าว และสถาบันหม่อนไหมแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
 
== การดำเนินกิจกรรมวาระพิเศษ ==
- การจัดสร้าง'''พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทรา พระบรมราชชนนี''' ประทับนั่งเคียงกัน ด้วยตลอดพระชนม์ชีพทั้ง 2 พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อประชาชนชาวไทย กล่าวได้ว่า เป็นผู้วางรากฐานการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ กระทรวงสาธารณสุขรู้สึกสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดสร้างพระราชานุสาวรีย์ ไม่เพียงน้อมเกล้าถวายเกียรติคุณและเทิดพระเกียรติแด่ 2 พระองค์ ยังน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้เป็นอนุสรณ์สถิตแห่งความรักเทิดทูน และรำลึกถึงพระเมตตาธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณแห่ง 2 พระองค์ อีกทั้งเพื่อปลุกจิตสำนึกให้ผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้สืบสานดำเนินรอยตาม พัฒนาสุขภาพให้แข็งแรง
 
-           การจัดงาน'''เยาวชนน้อยร้อยดวงใจมอบให้แม่'''เพื่อเทิดพระเกียรติในวโรกาสครบ 60 พรรษามหาราชินี
 
-           การจัดงานกาล่าดินเนอร์การกุศล'''เทิดพระเกียรติ 70 พรรษา มหาราชินี''' เพื่อรณรงค์และส่งเสริมให้คนไทยและชาวต่างประเทศหันมานิยมใช้ผ้าไทย และรายได้ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ ในโครงการศิลปาชีพ ยอดทูลเกล้าฯ รวม 62,242,149 ล้านบาท โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ เสด็จเป็นองค์ประธานเมื่อ 12 ธ.ค. 42
 
-           โครงการ “'''แก้วตาดวงใจ เทิดไท้ 72 พรรษา มหาราชินี”''' ผ่าตัดตาต้อกระจก 100,000 ดวง และโรคหัวใจ 7,200 ราย ซึ่งเริ่มโครงการตั้งแต่ปี 2544 เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหัวใจและผู้ป่วยตาต้อกระจกที่ยังไม่ได้รับการผ่าตัด โดยเฉพาะผู้ป่วยยากไร้ที่ไม่มีโอกาสเข้ารับการรักษาให้ได้รับการผ่าตัดได้ทันเวลาเพื่อที่จะรักษาชีวิตและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
 
-           การจัดงาน “'''รวมพลังอาหารปลอดภัย ถวายแด่แม่ของแผ่นดิน”''' ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เมื่อวันที่ 6 – 8 ธ.ค. 46 เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องวโรกาสพระชนมายุครบ 72 พรรษา ที่พระองค์ทรงมีความห่วงใยพสกนิกรในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร และเป็นการให้ความรู้แก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และความพยายามที่จะทำให้อาหารที่คนไทยบริโภคมีความสะอาดปลอดภัยทัดเทียมกับนานาอารยะประเทศ นอกจากนี้ยังได้จัดทำหนังสือเฉลิมพระเกียรติ “'''กินตามแม่”''' ขึ้นเพื่อเป็นตัวอย่างที่แสดงวิธีการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
 
== อ้างอิง ==