ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิกัดภูมิศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:WorldMapLongLat-eq-circles-tropics-non.png|thumb|440px|แผนที่โลกแสดงพิกัดภูมิศาสตร์; [https://www.cia.gov/cia/publications/factbook/reference_maps/pdf/political_world.pdf ดูรุ่นที่ใหญ่กว่านี้] (pdf, 1.8MB)]]
===blanking article===
[[ไฟล์:Geographic coordinates sphere.svg|400px|thumb|ภาพทรงกลมประกอบมุม ซึ่งใช้เป็นหลักในการระบุพิกัดภูมิศาสตร์ของตำแหน่งใด ๆ บนผิวโลก]]
'''พิกัดภูมิศาสตร์''' ({{lang-en|geographic coordinate system}}) คือสิ่งที่บอกให้เราทราบถึงตำแหน่งของสถานที่ต่าง ๆ บนผิวโลก โดยยึดตาม[[ระบบพิกัดทรงกลม]] (spherical coordinate system) ชาว[[บาบิโลเนีย]]เป็นผู้คิดแนวคิดพิกัดภูมิศาสตร์ขึ้น ต่อมา[[ทอเลมี|โตเลมี]] นักปราชญ์[[ชาวกรีก]]เป็นผู้ปรับปรุงแนวคิดนี้อีกครั้ง โดยให้หนึ่งวงกลมมีมุม 360 องศา
 
พิกัดภูมิศาสตร์ในปัจจุบัน ประกอบด้วยสองส่วน คือ[[ละติจูด]] และ[[ลองจิจูด]] ดังจะได้อธิบายต่อไปนี้
* ละติจูด คือมุมที่วัดระหว่างจุดใด ๆ กับเส้นศูนย์สูตร มีค่าสูงสุด 90 องศา เส้นที่ลากต่อประเทศเชื่อมทุกจุดที่มีละติจูดเท่ากันเราเรียกว่า [[เส้นขนาน]] (parallel) เวียนเป็นวงกลมรอบโลก โดยขั้วโลกแต่ละขั้วจะมีค่าละติจูดเป็น 90 องศา เช่น ขั้วโลกเหนือมีละติจูด 90 องศาเหนือ เป็นต้น
* ลองจิจูด คือมุมที่วัดระหว่างจุดใด ๆ กับเส้นเมอริเดียนที่ศูนย์ มีค่าสูงสุด 180 องศา ซึ่งพาดผ่านหอดูดาวหลวง[[กรีนิช]] สหราชอาณาจักร เส้นที่ลากต่อเชื่อมทุกจุดที่มีลองจิจูดเท่ากันจะเรียกว่า เส้นเมริเดียน (meridian) โดยเส้นเมริเดียนมีทั้งสิ้นรวม 365 เส้น
 
เมื่อนำมุมสองมุมข้างต้นของจุดหนึ่ง ๆ มาประกอบเข้าด้วยกันแล้ว ก็จะได้พิกัดภูมิศาสตร์ของจุดนั้น ซึ่งบอกได้ 3 วิธี คือ
# [[องศา]]-[[ลิปดา]] เช่น [[กรุงเทพมหานคร]]ตั้งอยู่ที่ละติจูด 13 องศาเหนือ 45 ลิปดา
# องศา-ลิปดา-[[พิลิปดา]]
# องศาแบบทศนิยม
 
การแปลงองศาแบบ องศา-ลิปดา-พิลิปดา หรือ องศา-ลิปดา เป็นองศาแบบทศนิยม ทำได้ดังนี้
# นำพิลิปดาหาร 3600
# นำลิปดาหาร 60
# นำผลที่ได้จากข้อ 1 และ 2 บวกกัน แล้วนำไปบวกกับองศา ก็จะได้องศาแบบทศนิยม
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==