ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะบูบักร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Abdullah Theanrungruang (คุย | ส่วนร่วม)
from Arabic source
Abdullah Theanrungruang (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22:
}}}}
{{อิสลาม}}'''อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก (ผู้เชื่อมั่น) อับดุลเลาะฮ์ บุตร อะบูกุฮาฟะฮ์ ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์''' ([[ภาษาอาหรับ|อาหรับ]]: أبو بَكر الصّدِّيق عبد الله بن أبي قُحافة التَّيمي القُرَشيّ) คือ[[เคาะลีฟะฮ์ผู้ทรงธรรม]]ท่านแรก เป็นหนึ่งใน[[สิบผู้ได้รับข่าวสวรรค์]] สหายสนิทของท่านศาสดา[[มุฮัมมัด|มุฮำมัด]] และเพื่อนร่วมเดินทางคราวท่านศาสดา[[ฮิจเราะห์|อพยพ]]ไปยังเมือง[[มะดีนะฮ์]]
 
[[ซุนนี|นิกายอะฮ์ลุซซุนนะฮ์]]ถือว่าอะบูบักร์คือผู้ที่ประเสริฐที่สุดรองลงมาจากบรรดา[[นบี|ศาสดาผู้เผยวจนะ]]ทั้งหลาย และเป็น[[บรรดาสหายของท่านศาสดามุฮำมัด|สหายท่านศาสดามุฮำมัด]]ที่มีศรัทธาและความมัธยัสถ์มากที่สุด และยังเป็นผู้ที่ท่านศาสดามุฮำมัดรักที่สุดรองลงมาจาก[[อาอิชะฮ์|ท่านหญิงอาอิชะฮ์]] และโดยปกติ อะบูบักร์จะได้รับการเรียกขานพร้อมฉายานามว่า "อัศศิดดี๊ก" (ผู้เชื่อมั่น) อันเป็นฉายานามที่ท่านศาสดาเป็นผู้ตั้งให้ อันเนื่องจากศรัทธาอันเปี่ยมล้นที่อะบูบักร์มีต่อท่านศาสดา
 
อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก เกิดที่เมือง[[มักกะฮ์]] ราวปี ค.ศ. 573 คือหลังจาก[[ปีช้าง]] 2 ปีและ 6 เดือน<ref>فتح الباري (7/9)</ref><ref>الإصابة (2/341)</ref> เคยเป็นเศรษฐีของ[[กุเรช|ตระกูลกุรอยช์]]ใน[[ญาฮิลียะฮ์|ยุคอวิชชา]] (ยุคญาอิลียะห์ الجَاهِلِيَّة) ครั้นเมื่อท่านศาสดามุฮำมัดเชิญชวนอะบูบักร์ให้รับอิสลาม ท่านก็ได้รับศรัทธาอย่างไร้เคลือบแคลง อะบูบักร์จึงนับเป็นเสรีชนชายคนแรกที่เข้ารับอิสลาม
 
หลังจากนั้น อะบูบักร์ก็[[ฮิจเราะห์|อพยพ]]ไปเมือง[[มะดีนะฮ์]]พร้อมกับท่านศาสดาในฐานะเพื่อนยาก และสู้ศึกเคียงบ่าเคียงไหล่กับท่านศาสดาในทุกสมรภูมิ และเมื่อท่านศาสดาป่วยหนักในครั้งที่ท่านจะเสียชีวิต ท่านก็ได้ใช้ให้อะบูบักร์เป็นผู้นำ[[ละหมาด]]แทนท่าน
 
เส้น 32 ⟶ 30:
 
อะบูบักร์เสียชีวิตในวันจันทร์ที่ 22 [[ญุมาดัลอาคิเราะฮ์]] ฮ.ศ. 13 รวมสิริอายุ 63 ปี แล้ว[[อุมัร|อุมัร บุตร อัลคอฏฏอบ]] ก็สืบทอดตำแหน่งต่อจากท่าน
 
== ก่อนรับอิสลาม ==
 
=== เชื้อสาย ===
[[ไฟล์:Abu Bakr1.png|thumb|นามของท่านอะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก พร้อมคำอวยพร เขียนด้วยภาษาอาหรับ]]
* อับดุลเลาะฮ์ บุตร[[อะบูกุฮาฟะฮ์|อุษมาน]] บุตรอามิร บุตรอัมร์ บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]] บุตร[[กะอ์บ บุตรลุอัย|กะอ์บ]] บุตร[[ลุอัย บุตรฆอลิบ|ลุอัย]] บุตร[[ฆอลิบ บุตรฟิฮ์ร|ฆอลิบ]] บุตร[[ฟิฮ์ร บุตรมาลิก|ฟิฮ์ร]] บุตร[[มาลิก บุตรอันนัฎร์|มาลิก]] บุตร[[อันนัฎร์ บุตรกุรอยช์|อันนัฎร์]] บุตร[[กุเรช|กุรอยช์]] บุตร[[กินานะฮ์ บุตรคุซัยมะฮ์|กินานะฮ์]] บุตร[[คุซัยมะฮ์ บุตรมุดริกะฮ์|คุซัยมะฮ์]] บุตร[[มุดริกะฮ์ บุตรอิลยาส|มุดริกะฮ์]] บุตร[[อิลยาส บุตรมุฎอร|อิลยาส]] บุตร[[มุฎอร]] บุตร[[นิซาร บุตรมะอ์ด|นิซาร]] บุตร[[มะอ์ด บุตรอัดนาน|มะอ์ด]] บุตร[[อัดนาน]] แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์<ref>[[أسد الغابة في معرفة الصحابة]]، [[ابن الأثير الجزري]]، دار الكتب العلمية، الطبعة الأولى 1415هـ-1994م، ج3 ص310</ref><ref>[[الإصابة في تمييز الصحابة]]، [[ابن حجر العسقلاني]]، 4/ 144-145</ref> มาบรรจบกับท่านศาสดามุฮำมัด ณ ปู่คนที่ 6 ([[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ]])<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص27</ref>
 
* '''บิดา''' : [[อะบูกุฮาฟะฮ์|อะบูกุฮาฟะฮ์ อุษมาน]] บุตรอามิร บุตรอัมร์ บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]] แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ มารดาของท่านคือ กอยละฮ์ บุตรีอะซาฮ์ บุตร ริยาฮ์ บุตรอับดุลเลาะฮ์ บุตรกอรฏ์ บุตรร่อซาฮ์ บุตรอะดีย์ บุตรกะอ์บ<ref>إكمال الكمال - ابن ماكولا، ج7 ص 30</ref><ref>نسب قريش - مصعب الزبيري ، ج1 ص122</ref> โดยอะบูกุฮาฟะฮ์ได้รับอิสลามในวันแห่ง[[การพิชิตมักกะฮ์]] และมีชีวิตยืนยาวหลังการเสียชีวิตของอะบูบักร์บุตรของท่าน และเป็นบุคคลแรกในอิสลามที่ได้รับมรดกจากเคาะลีฟะฮ์  แต่อะบูกุฮาฟะฮ์เลือกไม่รับมรดกและนำส่วนแบ่งของตนให้กับบุตรของอะบูบักร์  อะบูกุฮาฟะฮ์เสียชีวิตปี ฮ.ศ. 14   อายุ 97 ปี<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص575</ref>
* '''มารดา''' : [[ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร|อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา]] บุตรีศอคร์ บุตรอามิร ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์|อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]]  แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ รับอิสลามพร้อมกับอะบูบักร์ผู้เป็นบุตร  ก่อนเหตุการณ์การอพยพฮิจเราะฮ์  และเสียชีวิตก่อนอะบูกุฮาฟะฮ์<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج7 ص314</ref>
 
=== วัยเยาว์ ===
[[ไฟล์:Mecca from Jabal Nur.JPG|thumb|left|upright|ทิวทัศน์เมืองมักกะฮ์ในปัจจุบัน ที่ที่ท่านอะบูบักร์เกิดและโต]]
อะบูบักร์ เกิดที่เมือง[[มักกะฮ์]] ปี ค.ศ. 573  คือหลังจาก[[ปีช้าง]]ที่ท่าน[[มุฮัมหมัด|นบีมุฮัมหมัด]]เกิดเป็นระยะเวลา 2 ปี 6 เดือน<ref>فتح الباري (7/9)، الإصابة (2/341)</ref>  อะบูบักร์จึงนับว่าอายุน้อยกว่าท่านศาสดา  นักวิชาการมีมติฉันท์ว่าท่านอบูบักรเกิดหลัง[[ปีช้าง]]อย่างแน่นอน  แต่มีความเห็นต่างในเรื่องของช่วงเวลาหลังปีช้าง  บางทรรศนะจึงกล่าวว่า 3 ปี  อีกทัศนะบอกว่า 2 ปี 6 เดือน  และอีกทัศนะบอกว่า 2 ปีกว่า ๆ โดยมิได้กำหนดระยะเดือนที่ชัดเจน<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص29</ref><ref>تاريخ الخلفاء، للإمام [[جلال الدين السيوطي]]، تحقيق إبراهيم صالح، دار صادر، بيروت، الطبعة الأولى 1417هـ- 1997م، ص56</ref>
 
อะบูบักร์เกิดและเติบโตที่เมืองมักกะฮ์  และเป็นหนึ่งในผู้นำและผู้ทรงเกียรติของตระกูลกุรอยช์ในยุคอวิชชา และยังเป็นที่รักและชื่นชมอย่างมาก  เมื่ออะบูบักร์จะออกความเห็นใด ๆ ชาวกุรอยช์จะคล้อยตาม<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص310</ref> โดยมีคำกล่าวว่า  คนจากตระกูลกุรอยช์ที่มีเกียรติที่สุดมีอยู่สิบกว่าคน  คือ [[อัลอับบาส บุตรอับดุลมุฏฏอบิบ]] จาก[[ตระกูลสาขาฮาชิม|สาขาฮาชิม]], [[อะบูซุฟยาน บุตรฮัรบ์]] จาก[[ตระกูลสาขาอุมัยยะฮ์|สาขาอุมัยยะฮ์]], [[อุษมาน บุตรฏอลหะฮ์|อุษมาน บุตรฏอลหะฮ์ บุตรซัมอะฮ์ บุตรอัลอัสวัด]] จาก[[ตระกูลสาขาอะสัด|สาขาอะสัด]], อะบูบักร์ จาก[[ตระกูลสาขาตัยม์|สาขาตัยม์]], [[คอลิด บุตรอัลวะลีด]] จาก[[ตระกูลสาขามัคซูม|สาขามัคซูม]], [[อุมัร|อุมัร บุตรอัลคอฏฏอบ]] จาก[[ตระกูลสาขาอะดีย์|สาขาอะดีย์]], [[ซอฟวาน บุตรอุมัยยะฮ์]] จาก[[ตระกูลสาขาญุมะห์|สาขาญุมะห์]]  เป็นต้น<ref>أشهر مشاهير الإسلام، 1/ 10</ref>
[[ไฟล์:Bahira.jpg|thumb|right|โบสถ์ของบาทหลางนามบะฮีรอ ณ เมืองบุสรอ แคว้นซีเรีย|alt=]]
 
ใน[[ญาฮิลียะฮ์|ยุคอวิชชา]]  อะบูบักร์จะมีชื่อเสียงในเรื่องของวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูล  โดยเป็นหนึ่งในผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลและเรื่องราวเหตุการณ์ของชาวอาหรับยุคก่อน  ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากบรรดาผู้รู้ทางด้านวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากมายอาทิ [[อุกอยล์ บุตรอะบูตอลิบ]]  และ [[ญุบัยร์ บุตรมุฏอิม]] เป็นต้น  อะบูบักร์ยังเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ชาวอาหรับ  เนื่องจากท่านไม่เคยกล่าวถึงวงศ์ตระกูลใดในทางเสีย ๆ หาย ๆ ดังเช่นที่ผู้รู้ท่านอื่นทำ<ref>التهذيب، 2/ 183</ref> โดยมีรายงานว่าท่านศาสดาเคยกล่าวยกย่องไว้ว่า : "อบูบักร์เป็นผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากที่สุดของตระกูลกุรอยช์ (إن أبا بكر أعلمُ قريش بأنسابها)"<ref>[[صحيح مسلم]]، رقم: 2490</ref><ref>الطبراني في الكبير، رقم: 3582</ref>
 
อะบูบักร์ประกอบอาชีพเป็นพ่อค้า  [[อิบนุกะษีร อัดดิมัชกีย์|อิบนุกะษีร]]กล่าวว่า : "อะบูบักร์เป็นพ่อค้าที่มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ  มีผู้คนมากมายเข้าหาอะบูบักร์ เพราะความรู้  การค้า  และมนุษยสัมพันธ์ที่ดีของท่าน"<ref name="abc1">[[البداية والنهاية]]، [[ابن كثير الدمشقي|ابن كثير]]، ج3 ص39</ref>  อะบูบักร์ได้ท่องไปยังแว่นแคว้นต่าง ๆ เพื่อการค้า  และเคยเดินทางไป[[บุสรอ|เมืองบุสรอ]]ใน[[ลิแวนต์|แคว้นซีเรีย]]  อะบูบักร์มีต้นทุนการค้าถึง 40,000 ดิรฮัม  และท่านยังเป็นที่รู้จักในยุคอวิชชาในฐานะผู้ใจบุญที่มักบริจาคทาน<ref>أبو بكر الصديق، علي طنطاوي، دار المنارة، جدة، السعودية، 1406هـ-1986م، ص66</ref><ref>التاريخ الإسلامي، الخلفاء الراشدون، محمود شاكر، المكتب الإسلامي، 1411هـ، ص30</ref> มีบันทึกรายงานว่า  ครั้งหนึ่ง ขณะที่อะบูบักร์อยู่ในแคว้นซีเรีย  ท่านได้เล่าความฝันหนึ่งให้กับ[[บาทหลวง บะฮีรอ|บาทหลวงนามบะฮีรอ]]ฟัง บาทหลวงจึงถามอะบูบักร์ว่า : "ท่านมาจากที่ใดกัน?" อะบูบักร์ตอบว่า : "จากเมืองมักกะฮ์" บาทหลวง : "จากตระกูลใดเล่า?" อะบูบักร์ : "ตระกูลกุรอยช์" บาทหลวง : "ท่านเป็นอะไร?" อะบูบักร์ : "เป็นพ่อค้า" บาทหลวง : "หากพระเจ้าจะทำให้ฝันของท่านเป็นจริง  พระองค์จะทรงส่งศาสนทูตมาจากกลุ่มชนของท่าน แล้วท่านจะได้เป็นผู้รับใช้สนิทในขณะที่เขามีชีวิต และเป็นผู้สืบทอดอำนาจหลังจากเขาสิ้นชีวิต"
 
อะบูบักร์ตอบว่า : "จากเมืองมักกะฮ์"
 
บาทหลวง : "จากตระกูลใดเล่า?"
 
อะบูบักร์ : "ตระกูลกุรอยช์"
 
บาทหลวง : "ท่านเป็นอะไร?"
 
อะบูบักร์ : "เป็นพ่อค้า"
 
บาทหลวง : "หากพระเจ้าจะทำให้ฝันของท่านเป็นจริง  พระองค์จะทรงส่งศาสนทูตมาจากกลุ่มชนของท่าน แล้วท่านจะได้เป็นผู้รับใช้สนิทในขณะที่เขามีชีวิต และเป็นผู้สืบทอดอำนาจหลังจากเขาสิ้นชีวิต"<nowiki><ref>الخلفاء الراشدون، محمود شاكر، ص34</nowiki></ref>
 
กล่าวกันว่าอะบูบักร์ไม่เคยดื่ม[[สุรา]]แม้แต่ในยุคอวิชชา  โดยท่านได้ถือว่าสุราเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับตัวท่านเอง  อะบูบักร์จึงเป็นหนึ่งในผู้ที่บริสุทธิ์ที่สุดในยุคอวิชชา<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص48</ref>  [[อาอิชะฮ์|ท่านหญิงอาอิชะฮ์]]ได้เล่าว่า : "อะบูบักร์ได้ถือว่าสุราเป็นที่ต้องห้ามสำหรับตนเอง ดังนั้นท่านจึงไม่เคยดื่มสุราทั้งในยุคอวิชชาและในยุคอิสลาม มีครั้งหนึ่งอะบูบักร์ได้เดินผ่านคนเมาคนหนึ่งซึ่งกำลังใช้มือจับกองอุจจาระแล้วนำมาไว้ใกล้ปาก  แต่เมื่อเขาได้กลิ่นเขาก็โยนอุจจาระทิ้ง อะบูบักร์จึงกล่างวว่า: "คน ๆ นี้ไม่รู้เลยว่าเขากำลังทำอะไรอยู่  เขาเพียงได้กลิ่นอุจจาระแล้วก็ปัดทิ้ง"<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص34</ref>  และครั้งหนึ่งเคยมีผู้ถามท่านว่า : "ท่านเคยดื่มสุราในยุคอวิชชาไหม?"
 
อะบูบักร์ตอบว่า : "ฉันขอความคุ้มครองจากอัลเลาะฮ์"
 
คนผู้นั้นจึงถามขึ้นว่า : "ทำไมกันล่ะ?"
 
กล่าวกันว่าอะบูบักร์ไม่เคยดื่ม[[สุรา]]แม้แต่ในยุคอวิชชา  โดยท่านได้ถือว่าสุราเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับตัวท่านเอง  อะบูบักร์จึงเป็นหนึ่งในผู้ที่บริสุทธิ์ที่สุดในยุคอวิชชา<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص48</ref>  [[อาอิชะฮ์|ท่านหญิงอาอิชะฮ์]]ได้เล่าว่า : "อะบูบักร์ได้ถือว่าสุราเป็นที่ต้องห้ามสำหรับตนเอง ดังนั้นท่านจึงไม่เคยดื่มสุราทั้งในยุคอวิชชาและในยุคอิสลาม มีครั้งหนึ่งอะบูบักร์ได้เดินผ่านคนเมาคนหนึ่งซึ่งกำลังใช้มือจับกองอุจจาระแล้วนำมาไว้ใกล้ปาก  แต่เมื่อเขาได้กลิ่นเขาก็โยนอุจจาระทิ้ง อะบูบักร์จึงกล่างวว่า: "คน ๆ นี้ไม่รู้เลยว่าเขากำลังทำอะไรอยู่  เขาเพียงได้กลิ่นอุจจาระแล้วก็ปัดทิ้ง"<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص34</ref>  และครั้งหนึ่งเคยมีผู้ถามท่านว่า : "ท่านเคยดื่มสุราในยุคอวิชชาไหม?" อะบูบักร์ตอบว่า : "ฉันขอความคุ้มครองจากอัลเลาะฮ์" คนผู้นั้นจึงถามขึ้นว่า : "ทำไมกันล่ะ?" อะบูบักร์ : "ฉันต้องรักษาเกียรติและคุณธรรมของฉัน  เพราะผู้ที่ดื่มสุรานั้นคือผู้ที่ทำลายเกียรติและคุณธรรมของตนเอง"<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص49</ref>
อะบูบักร์ : "ฉันต้องรักษาเกียรติและคุณธรรมของฉัน  เพราะผู้ที่ดื่มสุรานั้นคือผู้ที่ทำลายเกียรติและคุณธรรมของตนเอง"<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص49</ref>
 
เช่นเดียวกัน  มีบันทึกรายงานว่าท่านไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลยแม้แต่ครั้งเดียว  อะบูบักร์ยังเคยพูดต่อหน้า[[บรรดาสหายของท่านศาสดามุฮำมัด|บรรดาสหายท่านศาสดา]]ว่า : "ฉันไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลย ครั้งหนึ่งขณะที่ฉันเพิ่งจะบรรลุวัยหนุ่ม [[อะบูกุฮาฟะฮ์]]ได้จูงมือของฉันไปยังห้อง ๆ หนึ่งที่มีรูปปั้น  แล้วพูดกับฉันว่า "นี่คือเทพเจ้าของเจ้า"  แล้วพ่อก็เดินออกไปปล่อยฉันไว้ตามลำพัง  ฉันจึงเข้าไปใกล้ ๆ รูปปั้นแล้วพูดกับมันว่า "ฉันหิว  ขอจงให้อาหารฉันเถิด" แต่มันไม่ตอบ  ฉันจึงพูดอีกว่า "ฉันไม่มีเสื้อผ้า  ขอจงประทานเสื้อผ้าให้หน่อย" แต่มันก็ไม่ตอบ  ฉันจึงขว้างหินพังหน้ารูปปั้นนั้น"<ref>أصحاب الرسول، محمود المصري، مكتبة أبي حذيفة السلفي، 1420هـ-1999م، 1/ 58</ref><ref>الخلفاء الراشدين، محمود شاكر، ص31</ref>