ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทเทเนียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 65:
อย่างไรก็ตาม ไทเทเนียมจะสูญเสียความแข็งเมื่อได้รับความร้อนสูงกว่า 430 °C (806 °F)<ref name="Barksdale1968p734">{{harvnb|Barksdale|1968|p=734}}</ref>
 
ไทเทเนียมนั้นแข็งพอใช้ (แม้ว่าจะไม่แข็งเท่ากับเท่ากัฟกฟหฟหกฟหกฟหกฟหกฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหบเหล็กกล้าอบชุบบางเกรด) ไม่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็ก และเป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่คุณภาพเลว การใช้กับเครื่องจักรต้องทำอย่างระมัดระวังเพราะวัสดุจะอ่อนตัวและถูกครูดเป็นรอยถ้าเครื่องมือมีความแหลมคมและไม่ได้ใช้วิธีการระบายความร้อนที่เหมาะสม เครื่องมือที่ทำจากไทเทเนียมคล้ายกับเครื่องมือที่ทำจากเหล็ก โครงสร้างของไทเทเนียมนั้นมีขีดจำกัดความล้าซึ่งจะกำหนดช่วงชีวิตของการนำไปใช้งานบางประเภท คุณสมบัติความแข็งตึง (stiffness) ของโลหะผสมไทเทเนียม ปกติแล้วไม่ดีเท่าวัสดุอื่น เช่น โลหะผสมอะลูมิเนียม และ[[คาร์บอนไฟเบอร์]] ดังนั้น จึงไม่ค่อยจะมีการนำไทเทเนียมไปใช้ในโครงสร้างที่ต้องการความแข็งแกร่งสูง
 
ไทเทเนียมมีสอง[[อัญรูป]]คือรูปแบบแอลฟาหกเหลี่ยมที่จะเปลี่ยนเป็นรูปแบบบีตาแบบลูกบาศก์กลางตัว (body-centered cubic, แลตทิซ) ที่ 882 °C (1,620 °F)<ref name="Barksdale1968p734"/> [[ความร้อนจำเพาะ]]ของรูปแบบแอลฟาจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อได้รับความร้อนเพื่อส่งผ่านระดับความร้อนนี้แต่จะตกลงและเกือบจะคงที่ในรูปแบบบีตาโดยไม่คำนึงถึงอุณหภูมิ<ref name="Barksdale1968p734"/> ส่วนรูปแบบโอเมกาที่เพิ่มขึ้นมาจะคงอยู่และเสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์ที่ความดันสูงคล้ายกับ[[เซอร์โคเนียม]]และ[[แฮฟเนียม]] แต่จะอุปเสถียร (metastable) ที่ความดันบรรยากาศ รูปแบบนี้ปกติจะเป็นรูปหกเหลี่ยม (''อุดมคติ'') หรือสามเหลี่ยม (''บิดเบี้ยว'') <!--และสามารถand can be viewed as being due to a soft longitudinal acoustic [[โฟนอน]]ของรูปแบบบีตา of the β phase causing collapse of [[Miller index|(111) planes]] ของอะตอม<ref>{{cite journal|last=Sikka|first=S. K.|coauthors=Vohra, Y. K., Chidambaram, R.|title=Omega phase in materials|journal=[[Progress in Materials Science]]|year=1982|volume=27|pages=245–310|doi=10.1016/0079-6425(82)90002-0|issue=3–4}}</ref>-->