ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำโขง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 41:
| avrwaterquan_parea = 73.99 [[ลิตร]]/[[วินาที]]/ตร.กม. <ref>[http://www.rid.go.th/b-2khon.htm ข้อมูล 25 ลุ่มน้ำประธาน] ศูนย์ข้อมูล[[กรมชลประทาน]]</ref>
}}
แม่น้ำโขง ทิเบต ประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย สบรวก สามเหลี่ยมทองคำ เชียงแสน เชียงราย ตะวันออก เชียงของ เวียงแก่น เชียงราย 180 กิโลเมตร เชียงคาน เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ไทย-ลาว ปลาบึก
'''แม่น้ำโขง''' ({{lang-my|မဲခေါင်မြစ်}}; {{lang-lo|ແມ່ນ້ຳຂອງ}}; {{lang-km|ទន្លេមេគង្គ}}; {{lang-vi|Mê Kông}}) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย เกิดจากการละลายของหิมะและน้ำแข็งบริเวณ[[ที่ราบสูงทิเบต]] ในบริเวณตอนเหนือของ[[ทิเบต]] ผ่าน[[ประเทศจีน]] [[ประเทศพม่า]] [[ประเทศลาว]] เริ่มไหลผ่านดินแดน[[ประเทศไทย]]ที่บริเวณสบรวก [[สามเหลี่ยมทองคำ]] [[อำเภอเชียงแสน]] [[จังหวัดเชียงราย]] และไหลไปทางทิศตะวันออก ผ่าน[[อำเภอเชียงของ]] ก่อนไหลเข้า[[ประเทศลาว]]ที่แก่งผาได [[อำเภอเวียงแก่น]] [[จังหวัดเชียงราย]] <ref>[https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/761612 ท่องเที่ยวน้ำโขง สัมผัสบรรยากาศหลากหลายที่ “แก่งผาได”]</ref> จึงนับเป็นจุดสุดท้ายของแม่น้ำโขงที่ผ่านดินแดนภาคเหนือของไทย รวมความยาวช่วงที่ไหลผ่านพรมแดนกั้นไทย-ลาว ที่[[จังหวัดเชียงราย]] เป็นระยะทางประมาณ 180 กิโลเมตร ก่อนที่จะไหลวกกลับเข้ามายังดินแดนไทยอีกครั้งหนึ่งที่[[อำเภอเชียงคาน]] [[จังหวัดเลย]] [[จังหวัดหนองคาย]] [[จังหวัดบึงกาฬ]] [[จังหวัดนครพนม]] [[จังหวัดมุกดาหาร]] [[จังหวัดอำนาจเจริญ]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] เป็นพรมแดนกั้นระหว่างไทย-ลาว ผ่านดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย รวมความยาวช่วงที่ไหลผ่านพรมแดนกั้นไทย-ลาว เป็นระยะทางประมาณ 800 กิโลเมตร แล้วเข้าสู่[[ประเทศกัมพูชา]] ที่หมู่บ้านอินนัง ทางภาคเหนือของกัมพูชา แล้วไหลผ่าน[[จังหวัดสตึงแตรง]] [[จังหวัดกระแจะ]] [[จังหวัดกำปงจาม]] [[กรุงพนมเปญ]] และไหลเข้าเขต[[ประเทศเวียดนาม]]ที่หมู่บ้านวินฮือ ไหลลงสู่[[ทะเลจีนใต้]] มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร
 
ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านมีชื่อเรียกเป็นภาษาของไทลื้อ ซึ่งเป็นชนชาติที่อาศัยอยู่ริมแม่น้ำโขงอย่างหนาแน่นในดินแดนสิบสองปันนาว่า '''แม่น้ำของ''' คนจีนทั่วไปเรียกว่า '''แม่น้ำหลานซาง''' หรือ '''หลานชางเจียง''' (จีนตัวย่อ: {{lang|zh|澜沧江}}, จีนตัวเต็ม: {{lang|zh|瀾滄江}}) มีความหมายว่า เป็นแม่น้ำที่ไหลเชี่ยวกราก เมื่อไหลผ่านเข้าเขต[[ประเทศพม่า]] และ [[ประเทศลาว]] เรียกว่า '''แม่น้ำของ''' รวมถึง[[คำเมือง]][[ล้านนา]]ก็เรียก '''น้ำของ''' เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า '''แม่น้ำโขง''' ไหลผ่าน 6 ประเทศ คือ จีน พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ก่อนออกสู่ทะเลจีนใต้ และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตสิบสองปันนา ประเทศพม่า และประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ ในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง
 
ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับ[[แม่น้ำดานูบ]]ในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า '''แม่น้ำดานูบตะวันออก'''
 
นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ร่วมกับ[[แม่น้ำแยงซี]]และ[[แม่น้ำสาละวิน]]ในเขตพื้นที่[[มณฑลยูนนาน]] ภายใต้ชื่อ '''[[พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน]]''' พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง
 
สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ [[ปลาบึก]]
 
== แม่น้ำโขงกับความเชื่อพื้นบ้าน ==
เส้น 59 ⟶ 51:
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญสำหรับการชมภูมิทัศน์ของลำน้ำโขงที่มีชื่อเสียงได้แก่ บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ ตอนบนของจังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นบริเวณที่เป็นรอยต่อระหว่างพรมแดน 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว และพม่า
 
== ลำน้ำสาขา ==
ลำน้ำสาขาซึ่งไหลลงแม่น้ำโขงทั้งทางตรงและทางอ้อม แบ่งตามระบบลุ่มน้ำประธาน ประกอบด้วย
 
เส้น 65 ⟶ 57:
|-
| valign = "top" width="50%" |
=== [[ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง]] ===
* [[แม่น้ำรวก]]
** [[แม่น้ำสาย]]
* [[น้ำแม่จัน]]
* [[น้ำแม่อิง]]
* [[แม่น้ำเหือง]]
* [[แม่น้ำเลย]]
* [[แม่น้ำห้วยหลวง]]
* [[แม่น้ำสงคราม]]
** ลำน้ำอูน
** ลำน้ำเมา
** ลำน้ำยาม
* [[แม่น้ำเค็ม]]
* [[ห้วยบางทราย]]
* [[ห้วยละห้า]]
 
=== [[ลุ่มน้ำกก]] ===
* [[น้ำแม่กก]]
** [[น้ำแม่ฝาง]]
** [[น้ำแม่ลาว]]
 
=== [[ลุ่มน้ำชี]] ===
* [[แม่น้ำชี]]
** [[ลำน้ำพอง]]
** [[ลำน้ำพรม]]
** [[ลำน้ำเซิน]]
** [[ลำปาว]]
** [[ลำน้ำยัง]]
| valign = "top" width="50%" |
 
=== [[ลุ่มน้ำมูล]] ===
* [[แม่น้ำมูล]]
** [[ลำตะคอง]] ลำเชิงไกร
** ลำพระเพลิง ลำแซะ
** [[ลำเชิงไกร]]
** ลำจักราช ลำปลายมาศ
** [[ลำพระเพลิง]]
** [[ลำแซะ]]นางรอง ลำชี
** ห้วยสำราญ ห้วยทับทัน
** [[ลำจักราช]]
** ห้วยขยุง ลำโดมใหญ่
** [[ลำปลายมาศ]]
** ลำโดมน้อย ลำพังชู
** [[ลำนางรอง]]
** ลำเสียวใหญ่ ลำเสียวน้อย
** [[ลำชี]]
** ลำเซบก ลำเซบาย
** [[ห้วยสำราญ]]
** [[ห้วยทับทัน]]เสนง ห้วยตุงลุง
** [[ห้วยขยุง]]
** [[ลำโดมใหญ่]]
** [[ลำโดมน้อย]]
** [[ลำพังชู]]
** [[ลำเสียวใหญ่]]
** [[ลำเสียวน้อย]]
** [[ลำเซบก]]
** [[ลำเซบาย]]
** [[ห้วยเสนง]]
** [[ห้วยตุงลุง]]
 
=== [[ลุ่มน้ำโตนเลสาบ]] ===
* [[ทะเลสาบเขมร]]และ[[แม่น้ำโตนเลสาบ]]
** [[แม่น้ำเสียมราฐ]]
** ลุ่มน้ำโตนเลสาบในประเทศไทย <ref>[http://www.sakaeoceo.com/chapter3/data19.htm ข้อมูลแหล่งน้ำ] ศูนย์ปฏิบัติการณ์จังหวัดสระแก้ว</ref>
*** [[ห้วยลำสะโตน]]
*** [[ห้วยตะเคียน]]
*** [[ห้วยนางาม]]
*** [[ห้วยพรมโหด]]
*** [[คลองน้ำใส]]
*** [[คลองโป่งน้ำร้อน]]
|}
 
[[ไฟล์:Mekong.jpg|thumb|280px|right|ทิวทัศน์แม่น้ำโขงก่อนพระอาทิตย์ตก]]
 
==สะพานข้ามแม่น้ำโขง==
จีน Lan Cang Lushi S 323 จีน-ลาว ลาว-จีน พม่า-ลาว พม่า-ลาว ไทย-ลาว แห่งที่ 1 แห่งที่ 2 แห่งที่ 3 แห่งที่ 4 แห่งที่ 5 แห่งที่ 6 แห่งที่ 7 แห่งที่ 8
===ภายในประเทศจีน===
* สะพาน Lan Cang และ Lushi
* ''สะพาน S323''
 
===ภายในประเทศจีน-ลาว===
* ''[[สะพานมิตรภาพลาว-จีน]] (โครงการ)''
 
===พรมแดนประเทศพม่า-ลาว===
* ''สะพานมิตรภาพพม่า-ลาว''
 
===พรมแดนประเทศไทย-ลาว===
* [[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 (หนองคาย–เวียงจันทน์)]]
* [[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 2 (มุกดาหาร–สะหวันนะเขต)]]
* [[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 3 (นครพนม–คำม่วน)]]
* [[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 4 (เชียงของ–ห้วยทราย)]]
* ''[[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ)]] (โครงการ)''
* ''[[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 6 (นาตาล–ละคอนเพ็ง)]] (โครงการ)''
* ''[[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 7 (เลย–แขวงเวียงจันทน์)]] (โครงการ)''
* ''[[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 8 (อุบลราชธานี–จำปาศักดิ์)]] (โครงการ)''
 
===ภายในประเทศลาว===
* สะพานไชยบุรี-หลวงพระบาง
* สะพานปากเซ
* ''สะพานเมืองของ''
* ''สะพานอุดมไซ''
 
===ภายในประเทศกัมพูชา===
* สะพาน Prek Tamak
* สะพานคิซุนะ
* สะพาน Takhmao
* สะพาน Prek Kdam
*สพานสึบาสา
 
===ภายในประเทศกัมพูชา-ลาว===
* ''[[สะพานมิตรภาพลาว-กัมพูชา]] (โครงการ)''
 
===ภายในประเทศเวียดนาม===
* สะพานเกิ่นเทอ (ข้ามแม่น้ำบาสัก - แม่น้ำสาขาของแม่น้ำโขง)
* สะพาน Mỹ Thuận
* สะพาน Rạch Miễu
 
===ภายในประเทศเวียดนาม-ลาว===
* ''[[สะพานมิตรภาพลาว-เวียดนาม]] (ข้ามแม่น้ำกา)''
* ''[[สะพานมิตรภาพลาว-เวียดนาม 2]] (ข้ามแม่น้ำโขง) (โครงการ)''
 
ลาว ไชยบุรี หลวงพระบาง ปากเซ เมืองของ อุดมไซ กัมพูชา Prek Tamak คิซุนะ Takhmao Prek Kdam บาสา กัมพูชา-ลาว ลาว-กัมพูชา เวียดนาม
==เขื่อนกั้นแม่น้ำโขง==
===ภายในประเทศจีน===
* [[เขื่อนม่านวาน]]
* [[เขื่อนดาเชาชาน]]
* [[เขื่อนเซียววาน]]
* [[เขื่อนจิงฮอง]]
* [[เขื่อนอู่น่งหลง]]
* [[เขื่อนนัวซาดู]]
* [[เขื่อนกองกัวเคียว]]
* ''[[เขื่อนลิตี้]] (กำลังก่อสร้าง)''
* ''[[เขื่อนเหมียวอวี]] (กำลังก่อสร้าง)''
* ''[[เขื่อนหวงเติ้ง]] (กำลังก่อสร้าง)''
* ''[[เขื่อนต้าฮัวเคียว]] (กำลังก่อสร้าง)''
 
เกิ่นเทอ Thuận Miễu เวียดนาม-ลาว ลาว-เวียดนาม 1 ลาว-เวียดนาม 2
===พรมแดนประเทศไทย-ลาว ===
* ''[[เขื่อนปากชม]] (โครงการ)''
* ''[[เขื่อนบ้านกุ่ม]] (โครงการ)''
 
==เขื่อน==
===ภายในประเทศลาว===
จีน ม่านวาน เชาชาน เซียววาน จิงฮอง อู่หลง นัวซา กัวเคียว ลิตี้ เหมียวอวี หวงเติ้ง ต้าฮัว ไทย ปากชม บ้านกุ่ม ลาว ไซยะบุรี ดอนโฮง กัมพูชา
* [[เขื่อนไซยะบุรี]]
* ''[[เขื่อนดอนสะโฮง]] (กำลังก่อสร้าง)''
 
สตึงเตรง สมโบร์
===ภายในประเทศกัมพูชา===
* ''[[เขื่อนสตึงเตรง]] (โครงการ)''
* ''[[เขื่อนสมโบร์]] (โครงการ)''
 
== สื่อสาร ==
== ความสัมพันธ์ทางสื่อสารมวลชนกับชีวิตชาวแม่น้ำโขง ==
Mekong Community ข่าวค่ำ ไอทีวี ทีไอทีวี ในประเทศไทย ปี 2548-2551 ลุ่มน้ำโขง 5 ประเทศ ตัวแทน 1 สถานี วีทีวี เวียดนาม ซีซีทีวี จีน เอ็นทีวี ลาว
=== Mekong Community TV (MCTV) ===
เป็นการเสนอข่าวสารและข้อมูลต่างๆของกลุ่มประเทศลุ่มแม่น้ำโขง ออกอากาศในข่าวภาคค่ำทาง สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และ สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี
ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2548]] ถึง [[พ.ศ. 2551]] โดยได้ร่วมมือกับสถานีโทรทัศน์แต่ละประเทศบนลุ่มน้ำโขง 5 ประเทศ ตัวแทนประเทศละ 1 สถานี มีดังต่อไปนี้ (ไม่มีตัวแทนจากประเทศพม่า)
* [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศเวียดนาม]] (วีทีวี) - [[ประเทศเวียดนาม]]
* [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน]] (ซีซีทีวี) - [[ประเทศจีน]]
* [[สถานีโทรภาพแห่งชาติลาว]] (สทล.- แอลเอ็นทีวี) - [[ประเทศลาว]]
* [[สถานีโทรทัศน์กองยุทธพลเขมรภูมินทร์]] (ช่อง 5) - [[ประเทศกัมพูชา]]
* [[สถานีโทรทัศน์ไอทีวี]] และ [[สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี]] - [[ประเทศไทย]]
 
===เขมร กัมพูชา ไอทีวี ไทย มหานทีแห่งชีวิต[[ไฟล์:Logo_Mekong_GROL.jpg|thumb|right|150px|สัญลักษณ์รายการ แม่น้ำโขง มหานทีแห่งชีวิต ===]]
* อสมท ไทย MRTV พม่า LNTV ลาว TVK กัมพูชา วีทีวี เวียดนาม ซีซีทีวี จีน
[[ไฟล์:Logo_Mekong_GROL.jpg|thumb|right|150px|สัญลักษณ์รายการ แม่น้ำโขง มหานทีแห่งชีวิต]]
รายการแม่น้ำโขง มหานทีแห่งชีวิต ถือว่าเป็นรายการประเภทสารคดีที่เล่าถึงชีวิตของคนบนผืนแผ่นดินลุ่มน้ำโขง ทั้ง ประเทศ ซึ่งร่วมมือสร้างสารคดี
เป็นเวลายาวนานถึง 6 ปี ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2545]] ถึง [[พ.ศ. 2551]] จำนวนการออกอากาศมีทั้งสิ้น 20 ตอน โดยในประเทศไทย ออกอากาศในปี [[พ.ศ. 2551]]
รายการนี้ ถือว่าเป็นความร่วมมือกันระหว่าง สถานีโทรทัศน์แต่ละประเทศบนลุ่มน้ำโขง 6 ประเทศ ตัวแทนประเทศละ 1 สถานี มีดังต่อไปนี้
* [[สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี]] (บมจ.อสมท) - [[ประเทศไทย]]
*[[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติเมียนมา]] (MRTV) - [[ประเทศพม่า]]
* [[สถานีโทรภาพแห่งชาติลาว]] (สทล.- LNTV) - [[ประเทศลาว]]
* [[สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศกัมพูชา]] (ททก.-TVK) - [[ประเทศกัมพูชา]]
* [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศเวียดนาม]] (วีทีวี) - [[ประเทศเวียดนาม]]
* [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน]] (ซีซีทีวี) - [[ประเทศจีน]]
 
{{โครง-ส่วน}}