ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปัญญาประดิษฐ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
{{Artificial intelligence}}
 
'''ปัญญาประดิษฐ์''' ({{lang-en|artificial intelligence}}) หรือ '''เอไอ''' ({{lang|en|AI}}) หมายถึง[[ความฉลาด]]
'''ปัญญาประดิษฐ์''' ({{lang-en|artificial intelligence}}) หรือ '''เอไอ''' ({{lang|en|AI}}) หมายถึง[[ความฉลาด]]เทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต ปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาหนึ่งในด้าน[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] และ[[วิศวกรรม]]เป็นหลัก แต่ยังรวมถึงศาสตร์ในด้านอื่น ๆ อย่าง[[จิตวิทยา]] [[ปรัชญา]] หรือ[[ชีววิทยา]] ซึ่งสาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการคิด [[การกระทำ]] [[การให้เหตุผล]] [[การปรับตัว]] หรือ[[การอนุมาน]] และการทำงานของ[[สมอง]] แม้ว่าดังเดิมนั้นเป็นสาขาหลักในวิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่แนวคิดหลาย ๆ อย่างในศาสตร์นี้ได้มาจากการปรับปรุงเพิ่มเติมจากศาสตร์อื่น ๆ เช่น
* [[การเรียนรู้ของเครื่อง]] นั้นมีเทคนิคการเรียนรู้ที่เรียกว่า ''[[การเรียนรู้ต้นไม้ตัดสินใจ]]'' ซึ่งประยุกต์เอาเทคนิคการ[[อุปนัย]]ของ[[จอห์น สจวร์ต มิลล์]] [[นักปรัชญา]]ชื่อดังของ[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] มาใช้
* [[เครือข่ายประสาทเทียม]]ก็นำเอาแนวคิดของการทำงานของสมองของมนุษย์ มาใช้ในการแก้ปัญหา[[การแบ่งประเภท]]ของข้อมูล และแก้ปัญหาอื่น ๆ ทาง[[สถิติศาสตร์|สถิติ]] เช่น [[การวิเคราะห์ความถดถอย]]หรือ [[การปรับเส้นโค้ง]]
 
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันวงการปัญญาประดิษฐ์ มีการพัฒนาส่วนใหญ่โดย[[นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์]] อีกทั้งวิชาปัญญาประดิษฐ์ ก็ต้องเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ของคณะ[[วิทยาศาสตร์]]หรือคณะ[[วิศวกรรมศาสตร์]] เราจึงถือเอาง่าย ๆ ว่า ศาสตร์นี้เป็นสาขาของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั่นเอง
 
หนังสืออ้างอิงที่ดีและทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน คือของ Russell and Norvig, 2003<ref>Stuart J. Russell, Peter Norvig (2003) "Artificial Intelligence: A Modern Approach" (2nd Edition), Prentice Hall, New Jersey, ISBN 0-13-790395-2.</ref> ผู้สนใจสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเล่มนี้
 
== ประวัติ ==
 
เส้น 92 ⟶ 85:
 
* ความรู้ที่แน่นอน (certain knowledge) เช่น การแทนความรู้ด้วย[[ตรรกศาสตร์]] ไม่ว่าจะเป็น [[:en:first-order logic|first-order logic]] หรือ [[:en:propositional logic|propositional logic]]
* ความรู้ที่มีความไม่แน่นอนมาเกี่ยวข้องยวข้อง (uncertain knowledge) เช่น [[ฟัซซี่ลอจิก]] (fuzzy logic) และ[[เครือข่ายแบบเบย์]] ([[:en:bayesian networks| bayesian networks]])
 
==== ระบบผู้เชี่ยวชาญ ====