ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:43A0:6B6B:1:2:FEB3:3BE8 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
CherseryHome (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่เนื้อหาด้วย "'''วิกิ''' หรือ '''วิกี''' (wiki {{IPA|[ˈwɪ.kiː] หรือ [ˈwiː.kiː]}}) นายแพทย์เก่..."
บรรทัด 1:
'''วิกิ''' หรือ '''วิกี''' (wiki {{IPA|[ˈwɪ.kiː] หรือ [ˈwiː.kiː]}})
'''วิกิ''' หรือ '''วิกี''' (wiki {{IPA|[ˈwɪ.kiː] หรือ [ˈwiː.kiː]}}) คือลักษณะของ[[เว็บไซต์]]แบบหนึ่งที่อนุญาตให้ผู้ใช้ เพิ่มและแก้ไขเนื้อหาได้โดยง่าย ซึ่งบางครั้งไม่จำเป็นต้องมีการลงทะเบียนเพื่อแก้ไข ด้วยความง่ายในการแก้ไขและโต้ตอบ วิกิเว็บไซต์มักจะถูกนำมาใช้ในการร่วมเขียนบทความ คำว่า "วิกิ" นี่ยังสามารถหมายถึง[[วิกิซอฟต์แวร์]]ซึ่งเป็นตัว[[ซอฟต์แวร์]]รองรับการทำงานระบบนี้ หรือยังสามารถหมายถึงตัวเว็บไซต์เองที่นำระบบนี้มาใช้งาน ระบบวิกิที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ [[วิกิพีเดีย]]
นายแพทย์เก่งพงศ์ ตั้งอรุณสันติ (เกิดวันที่ 7 ธันวาคม 2527) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายสมชัย ตั้งอรุณสันติ กับนางอัญชลินทร์ อลินนันท์ โดยเป็นบุตรคนที่ 2 จากพี่น้องทั้งหมด 4 คน
 
นายแพทย์เก่งพงศ์ ตั้งอรุณสันติ สมรสกับ แพทย์หญิงภิญญดา ปัญญาวรานันท์ แพทย์จุฬา ฯ รุ่นที่ 59 แพทย์เชี่ยวชาญด้านมะเร็งนรีเวช เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555
วิกิจะแตกต่างจาก[[ระบบการจัดการเนื้อหา]]อื่น ในส่วนของการโต้ตอบ ซึ่งเห็นได้จากระบบของ[[กระดานสนทนาออนไลน์]]หรือ[[บล็อก]] จะอนุญาตให้ผู้อื่นโต้ตอบโดยการส่งข้อความต่อท้าย และไม่สามารถมีส่วนร่วมในส่วนของเนื้อหาหลักได้
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:WikiWiki.jpg|thumb|สัญลักษณ์รถบัส "วิกิวิกิ" ที่ [[ท่าอากาศยานนานาชาติฮอโนลูลู]]]]
 
วิกิตัวแรกชื่อว่า [[WikiWikiWeb]]<ref>[http://c2.com/cgi/wiki?WikiHistory Wiki History] at c2.com</ref> สร้างโดย [[วอร์ด คันนิงแฮม]] เมื่อ[[พ.ศ. 2537]] สำหรับโครงการ Portland Pattern Repository ของเขา โดยได้เขียนโปรแกรมขึ้นด้วย[[ภาษาเพิร์ล]]และติดตั้งลงที่เว็บ c2.com โดยชื่อของ วิกิ นั้นมาจากชื่อรถประจำทางสาย "วิกิ วิกิ" (Wiki Wiki) ของระบบรถขนส่ง[[แชนซ์ อาร์ที-52]] ที่[[สนามบินฮอโนลูลู]]ใน[[รัฐฮาวาย]] คำว่าวิกิใน[[ภาษาฮาวาย]]มีความหมายว่าเร็ว ดังนั้นคำว่า "วิกิวิกิ" หมายถึง "เร็วเร็ว" นั่นเอง
 
ระบบวิกิเริ่มเป็นที่รู้จักภายหลังจากที่สารานุกรมวิกิพีเดียได้นำมาใช้ ซึ่งต่อมาได้มีหน่วยงานหลายส่วนได้นำระบบวิกิมาใช้ไม่ว่าในการจัดการเอกสาร การติดต่อสื่อสาร หรือแม้แต่การร่วมโปรแกรม
 
== ลักษณะสำคัญ ==
 
วิกิเน้นการทำงานแบบง่าย ซึ่งผู้เขียนสามารถสร้างเนื้อหาบนเว็บได้โดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้ใน[[ภาษาเอชทีเอ็มแอล]] โดยข้อมูลถูกเขียนร่วมกันด้วย[[ภาษามาร์กอัป]]อย่างง่ายโดยผ่าน[[เว็บเบราว์เซอร์]] ในแต่ละหน้าจะถูกเรียกว่า "หน้าวิกิ" และเนื้อหาภายในจะเชื่อมต่อกันผ่านทาง[[ไฮเปอร์ลิงก์]] ซึ่งส่งผลให้ในแต่ละวิกิสามารถทำงานผ่านระบบที่เรียบ ง่ายและสามารถใช้เป็น[[ฐานข้อมูล]] สำหรับสืบค้น ดูแลรักษาที่ง่าย
 
นิยามลักษณะของเทคโนโลยีวิกิคือความง่ายในการสร้างและแก้ไข[[หน้าเว็บ]] โดยไม่จำเป็นต้องผ่านการตรวจสอบหรือยืนยันจากเจ้าของเว็บนั้น เว็บวิกิหลายแห่งเปิดให้ผู้ใช้บริการทั่วไปในขณะที่บางกรณี ขึ้นอยู่กับการตั้งค่าวิกิบน[[เซิร์ฟเวอร์]] ผู้ใช้อาจจะต้องล็อกอินเพื่อแก้ไข หรือเพื่ออ่านบางหน้า
 
=== หน้าวิกิและการแก้ไข ===
 
รูปแบบรหัสต้นฉบับบางครั้งก็รู้จักกันในชื่อ "'''[[ข้อความวิกิ]]'''" ซึ่งประกอบไปด้วยข้อความธรรมดารวมกับภาษามาร์กอัปอย่างง่ายซึ่งใช้ในการกำหนดโครงสร้างของเอกสารและรูปลักษณ์ในการแสดงผล ตัวอย่างที่มักพบบ่อยได้แก่ การใช้[[เครื่องหมายดอกจัน]] ("*") ขึ้นต้นบรรทัด เพื่อเป็นสัญลักษณ์บอกว่าบรรทัดนั้นเป็นรายการหนึ่งในรายการแบบ[[จุดนำ]] รูปแบบและ[[วากยสัมพันธ์ (ภาษาโปรแกรม)|วากยสัมพันธ์]]สามารถแตกต่างกันออกไปได้หลายแบบขึ้นอยู่กับการนำไปใช้ ในบางระบบอนุญาตให้ใช้แท็ก HTML ได้
 
การออกแบบข้อความวิกิมีเหตุผลมากจาก HTML ซึ่งแท็กหลายแท็กมีความคลุมเครือ ทำให้จากรหัสต้นฉบับ HTML ผู้ใช้สร้างจินตนาภาพถึงผลลัพธ์ได้ยาก สำหรับผู้ใช้ส่วนมากการอ่านและการแก้ไขเนื้อหาบนรหัสต้นฉบับ HTML โดยตรงเป็นสิ่งที่ทำได้ยากมาก ดังนั้นการส่งเสริมให้แก้ไขบนข้อความธรรมดากับข้อตกลงอีกนิดหน่อยเพื่อการกำหนดโครงสร้างและรูปแบบจึงเป็นสิ่งที่ดีกว่า
 
นอกจากนั้นการที่ผู้ใช้ไม่สามารถใช้ความสามารถบางอย่างของภาษา HTML เช่น [[จาวาสคริปต์]] และ [[Cascading Style Sheet]] ได้โดยตรง ทำให้ได้ประโยชน์คือ[[รูปลักษณ์และความรู้สึก]] (Look and Feel) ในการใช้งานวิกิมีความสอดคล้องกัน เนื่องจากผู้ใช้แก้ไขรูปแบบได้อย่างจำกัด พร้อมทั้งความปลอดภัยที่เพิ่มขึ้น ในการนำวิกิไปใช้หลายระบบแสดงให้เห็นไฮเปอร์ลิงก์ที่ใช้งานได้เสมอ ไม่เหมือนในการใช้ HTML ซึ่งข้อความที่ไม่สามารถมองเห็นจากการแสดงผลว่าเป็นไฮเปอร์ลิงก์ก็อาจจะเป็นไฮเปอร์ลิงก์ได้
 
;ตัวอย่างเปรียบเทียบคำสั่ง
{| class="wikitable"
!คำสั่งใน[[มีเดียวิกิ]] || คำสั่ง[[เอชทีเอ็มแอล]] || ผลลัพธ์ที่แสดงออกมา
|- valign="top"
|<nowiki>'''เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน''' หรือ ''Candlelight Blues'' เป็น[[เพลงพระราชนิพนธ์]]เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะ[[บลูส์]] </nowiki>
 
| <nowiki><p><b>เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน</b> หรือ <i>Candlelight Blues</i> เป็น<a href = "/wiki/เพลงพระราชนิพนธ์" title="เพลงพระราชนิพนธ์">เพลงพระราชนิพนธ์</a>เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะ<a href="/wiki/บลูส์" title="บลูส์">บลูส์</a></p></nowiki>
 
|'''เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน''' หรือ ''Candlelight Blues'' เป็น[[เพลงพระราชนิพนธ์]]เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะ[[บลูส์]]
 
|-
| colspan = "3" | '''หมายเหตุ:''' ที่อยู่จริงของการเชื่อมโยงขึ้นอยู่กับไดเรกทอรีที่ติดตั้ง ตัวอย่างที่แสดงเป็นไดเรกทอรีของวิกิพีเดีย
|}
 
== การควบคุมความเปลี่ยนแปลง ==
[[ไฟล์:History comparison example.png|thumb|การเปรียบเทียบประวัติเน้นให้เห็นข้อความที่เปลี่ยนแปลง ระหว่างการแก้ไขปรับปรุงสองครั้งของหน้าเว็บเดียวกัน]]
โดยทั่วไปแล้ววิกิออกมาบนปรัชญาที่ว่าทำการแก้ไขสิ่งที่ผิดให้ง่ายมากกว่าทำให้การสร้างสรรค์ยาก ดังนั้นเมื่อวิกิเป็นระบบเปิดจึงจัดสิ่งที่มีความสำคัญ ในการยืนยันความถูกต้องของการแก้ไขเนื้อหาของหน้าวิกิล่าสุด สิ่งที่โดดเด่นที่สุดของวิกิทุกตัวก็คือหน้า "ปรับปรุงล่าสุด" ซึ่งเป็นรายการที่เรียงลำดับการเปลี่ยนแปลงจากล่าสุดจำนวนหนึ่งหรือเป็นรายการการเปลี่ยนแปลงที่ทำในช่วงเวลาหนึ่ง วิกิบางตัวสามารถเลือกกรองโดยเพื่อที่จะไม่แสดงเอาการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยและไม่แสดงการแปลงที่ทำโดยสคริปต์อัตโนมัติ ("[[บอต]]")
 
จากปูมบันทึกการเปลี่ยนแปลง ความสามารถอื่นของวิกิส่วนมากคือ "ประวัติการแก้ไขปรับปรุง" ซึ่งแสดงหน้าวิกิรุ่นก่อนและยังมีลักษณะพิเศษในการ "[[ดิฟฟ์]]" (diff) ที่เน้นให้เห็นความเปลี่ยนแปลงระหว่างการแก้ไขปรับปรุง 2 ครั้ง ด้วยการใช้ประวัติการแก้ไขปรับปรุง บรรณาธิการสามารถดูหรือนำหน้าวิกิรุ่นก่อนหน้ากลับคืนมาได้ลักษณะเด่นดิฟฟ์สามารถใช้ในการตัดสินใจว่ามีความจำเป็นในการนำหน้าวิกิรุ่นก่อนกลับคืนมาหรือไม่ ผู้ใช้วิกิธรรมดาสามารถดูดิฟฟ์ของรายการหน้าที่ถูกแก้ไขจากหน้า "ปรับปรุงล่าสุด" ถ้าหากว่ามีการแก้ไขที่ไม่เป็นที่ยอมรับโดยดูจากประวัติก็สามารถนำหน้าวิกิรุ่นก่อนหน้ากลับคืนมาได้ การนำหน้าวิกิรุ่นก่อนกลับคืนมามีความสะดวกระดับที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับซอฟต์แวร์วิกิที่ใช้
 
== การพัฒนาการ ==
การสร้างเอกสาร [[WYSIWYG]] ก็มีทางเป็นไปได้โดยการเพิ่มโมดูลพิเศษให้โปรแกรมค้นดูเว็บ หรือใช้วิธีที่ง่ายกว่าโดยใช้[[จาวาสคริปต์]]ใน[[หน้าเว็บ]]ทำให้หน้าเว็บมีการเปลี่ยนแปลงโต้ตอบได้ มากไปกว่านั้นยังมีวิธีที่ผ่อนปรนระหว่างการใช้ภาษามาร์กอัปกับ WYSIWYG เช่น การเพิ่ม[[ปุ่ม]]ช่วยจดจำภาษามาร์กอัป เช่น ปุ่มเพิ่มรูปที่ช่วยเพิ่มข้อความในภาษามาร์กอัปแต่ไม่ได้แสดงผลลัพธ์ให้เห็นในทันที ที่พบได้ใน[[มีเดียวิกิ]] การเพิ่มปุ่มช่วยจดจำภาษามาร์กอัปสามารถอำนวยความสำดวกให้กับผู้ใช้ได้โดยไม่ต้องเพิ่มโปรแกรมพิเศษมากเท่าการทำให้แก้ไขหน้าเว็บแบบ [[WYSIWYG]] มากไปกว่านั้นในหลายกรณี การสร้างแก้ไขเอกสารแบบ [[WYSIWYG]] ก็ไม่ส่งเสริมให้ผู้ใช้จัดการโครงสร้างของเอกสาร เช่น การเพิ่มขนาดตัวอักษร แทนการกำหนดหัวข้อ ซึ่งทำให้การประมวลผลเอกสารเช่นการเปลี่ยนรูปแบบเอกสารตามแม่แบบเป็นไปได้ยากขึ้น
 
อย่างไรก็ตามสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือการรักษาฐานผู้ใช้ขนาดใหญ่ทั้งที่เป็นผู้อ่านและผู้เขียนไว้ โดยทำให้หน้าวิกิใช้งานได้ทั่วถึงที่สุด ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถของโปรแกรมค้นดูเว็บของผู้ใช้วิกิ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://dotsub.com/films/wikisinplainenglish/index.php?autostart=true&language_setting=th_712 วิดีโออธิบายหลักการของวิกิ อย่างง่าย] จาก dotSUB.com
*เว็บไซด์ Google.com
 
[[หมวดหมู่:อินเทอร์เน็ต]]
[[หมวดหมู่:ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:วิกิ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วิกิ"