ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูหนาวในประเทศไทย พ.ศ. 2560–2561"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560 [[ประเทศไทย]]ได้เข้าสู่ฤดูหนาวตามประกาศของ[[กรมอุตุนิยมวิทยา]] เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของทิศทางลมชั้นบนระดับล่าง ได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันออกหรือตะวันออกเฉียงเหนือ และลมชั้นบนระดับบนได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันตก รวมถึงเกณฑ์ของอุณหภูมิและปริมาณฝนในตอนบนของประเทศได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง<ref name="เริ่มฤดูหนาว">{{cite web|title=การเข้าสู่ฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐|url=https://www.tmd.go.th/programs//uploads/weatherclimate/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A72560.pdf|website=www.tmd.go.th|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171216191731/https://www.tmd.go.th/programs//uploads/weatherclimate/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A72560.pdf|archivedate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560}}</ref>
 
สำหรับฤดูหนาวทางดาราศาสตร์ เป็นฤดูกาลทาง[[ดาราศาสตร์]] เมื่อตำแหน่งของวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์ เคลื่อนเข้าสู่[[อายัน|จุดอายัน]] (จุดหยุด กล่าวคือจุดที่ดวงอาทิตย์โคจรไปถึงใต้สุดหรือเหนือสุด) และ[[วิษุวัต|จุดวิษุวัต]] (กลางคืนและกลางวันมีเวลาเท่ากัน)<ref name="ดาราศาสตร์">{{cite web|title=When does winter start?|url=https://www.metoffice.gov.uk/learning/seasons/winter/when-does-winter-start|website=http://www.metoffice.gov.uk/|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171216192156/https://www.metoffice.gov.uk/learning/seasons/winter/when-does-winter-start|archivedate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560|publisher=Met Office|accessdate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560}}</ref><ref name="ดาราศาสตร์-noaa">{{cite web|title=Meteorological Versus Astronomical Summer—What’s the Difference?|url=https://www.ncdc.noaa.gov/news/meteorological-versus-astronomical-summer%E2%80%94what%E2%80%99s-difference|website=https://www.ncdc.noaa.gov/|publisher=NOAA|accessdate=1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref> สำหรับปีนี้ ฤดูหนาวทางดาราศาสตร์เริ่มต้นในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2560 (วันอายันเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560) และไปสิ้นสุดในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561 (วันวิษุวัตเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561)<ref name="ดาราศาสตร์"/>
 
== ภูมิหลัง ==
[[ฤดู]]ของ[[ประเทศไทย]]แบ่งเป็น 3 ฤดู คือ [[ฤดูร้อน]] (กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม), [[ฤดูฝน]] (กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) และ[[ฤดูหนาว]] (กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์) ซึ่งฤดูหนาวเริ่มขึ้นเมื่อ[[มรสุม]]ตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้าปกคลุมประเทศไทย โดยเริ่มต้นอากาศจะแปรปรวน ไม่แน่นอน อาจมีอากาศเย็น หรือ[[พายุฝนฟ้าคะนอง|ฝนฟ้าคะนอง]] โดยเฉพาะ[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางตอนล่าง]]<ref>{{cite web|title=ฤดูกาลของประเทศไทย|url=http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=53|website=http://www.tmd.go.th/|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref>
 
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีแหล่งกำเนิดจะ[[บริเวณความกดอากาศสูง]]อุณหภูมิต่ำที่สุดใน[[ซีกโลกเหนือ]]แถบ[[ประเทศมองโกเลีย]]และไทยที่เคยวัดได้ในระหว่างปี พ.ศ. 2494 ถึง พ.ศ. 2558 คือ -1.4 [[จีนองศาเซลเซียส]] ซึ่งจะพัดพาเอา[[มวลที่สถานีอากาศ]]เย็นและแห้งเข้ามาในประเทศไทยเกษตร ทำให้ท้องฟ้าปลอดโปร่ง(สกษ.) อากาศจะหนาวเย็นและแห้งโดยทั่วไปในประเทศไทยตอนบนสกลนคร แต่จะทำให้[[ภาคใต้จังหวัดสกลนคร]]มีฝนตกชุกเนื่องจากนำเอา[[ความชื้น]]จาก[[อ่าวไทย]]เข้าไป ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517<ref name="ภูมิอากาศของประเทศไทย">{{cite web|title=ภูมิอากาศของประเทศไทย|url=http://www.tmd.go.th/info/climate_of_thailand-2524-2553.pdf|website=http://www.tmd.go.th/|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161107202721/http://www.tmd.go.th/info/climate_of_thailand-2524-2553.pdf|archivedate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref>
 
ใน[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลาง]], [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]และ[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคเหนือ]] [[อุณหภูมิ]]จะแตกต่างกันมากในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาว ซึ่งในฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำสุดในตอนเช้าจะอยู่เกณฑ์หนาวถึงหนาวจัดในเดือนธันวาคมถึงมกราคม ซึ่งอุณหภูมิอาจลดลงได้จนต่ำกว่า[[จุดเยือกแข็ง]]ในพื้นที่ที่มี[[ภูมิศาสตร์ไทย|ภูมิประเทศ]]เป็น[[เทือกเขา]]หรือ[[ภูเขา|ยอดเขา]]สูงของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [[ลม]]พื้นผิวโดยมากเป็น[[ลมฝ่ายเหนือ]]และ[[ลมตะวันออกเฉียงเหนือ]] ส่วน[[ความชื้นสัมพัทธ์]]จะลดลงอย่างชัดเจน<ref name="ภูมิอากาศของประเทศไทย"/>
 
อุณหภูมิต่ำที่สุดในประเทศไทยที่เคยวัดได้ในระหว่างปี พ.ศ. 2494 ถึง พ.ศ. 2558 คือ -1.4 [[องศาเซลเซียส]] ที่สถานีอากาศเกษตร (สกษ.) สกลนคร [[จังหวัดสกลนคร]] ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517<ref name="ภูมิอากาศของประเทศไทย"/>
 
ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดของภาคอื่น ๆ มีดังนี้
เส้น 31 ⟶ 27:
 
สำหรับ[[ภาคใต้ (ประเทศไทย)|ภาคใต้]] จะมีอากาศเย็นบางแห่งบริเวณตอนบนของภาค และมีฝนตกหนาแน่นในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม โดยเฉพาะชายฝั่งด้านตะวันออก ตั้งแต่[[จังหวัดชุมพร]]ลงไป จะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง และมีโอกาสได้รับผลกระทบจาก[[พายุหมุนเขตร้อน]]ในช่วงเตือนตุลาคมถึงธันวาคมด้วย<ref name="พยากรณ์27-10-60"/>
<center></center>
{| class="wikitable"
|+ ตารางการคาดหมายอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย<ref name="พยากรณ์27-10-60"/>
|-
! colspan=2 rowspan=2|ภาค !! rowspan=2|พฤศจิกายน 2560 !! rowspan=2|ธันวาคม 2560 !! rowspan=2|มกราคม 2561 !! colspan=2|กุมภาพันธ์ 2561
|-
! ครึ่งแรก !! ครึ่งหลัง
|-
| rowspan=2|[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคเหนือ]] || [[ภาคเหนือตอนบน|ตอนบน]] || style="text-align:center;"|18–20[[องศาเซลเซียส|°ซ]] || style="text-align:center;"|15–17°ซ || style="text-align:center;"|14–16°ซ || style="text-align:center;"|15–17°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ
|-
| [[ภาคเหนือตอนล่าง|ตอนล่าง]] || style="text-align:center;"|20–22°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ || style="text-align:center;"|16-18°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ || style="text-align:center;"|19–21°ซ
|-
| rowspan=2|[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] || [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน|ตอนบน]] || style="text-align:center;"|19–21°ซ || style="text-align:center;"|16–18°ซ || style="text-align:center;"|15–17°ซ || style="text-align:center;"|16–18°ซ || style="text-align:center;"|18-20°ซ
|-
| [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง|ตอนล่าง]] || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|18–20°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ || style="text-align:center;"|18–20°ซ || style="text-align:center;"|20–22°ซ
|-
| colspan=2|[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลาง]] || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|20–22°ซ || style="text-align:center;"|19–21°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ
|-
| colspan=2|[[ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออก]] || style="text-align:center;"|23–25°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|20–22°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ
|-
| rowspan=2|[[ภาคใต้ (ประเทศไทย)|ภาคใต้]] || [[ภาคใต้ฝั่งตะวันออก|ฝั่งตะวันออก]] || style="text-align:center;"|23–25°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || colspan=2 style="text-align:center;"|21–23°ซ
|-
| [[ภาคใต้ฝั่งตะวันตก|ฝั่งตะวันตก]] || style="text-align:center;"|23–25°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || colspan=2 style="text-align:center;"|22–24°ซ
|-
| colspan=2|[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] || style="text-align:center;"|24–26°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|23–25°ซ
|}
</center>
{{มาตราอุณหภูมิของกรมอุตุนิยมวิทยา|ประเภท=อากาศหนาว}}
<center>