ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Officer781 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ต้นพยางค์: these are normally included in the consonant count as per English Wikipedia
ใช่
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน''' หรือ '''สำเนียงกวางเจา''' คือ[[สำเนียง]]ของภาษากวางตุ้งที่เป็นที่ยอ[[ภาษาไทย|ม]]รับให้เป็นสำเนียงมาตรฐาน ใช้เป็นภาษาราชการที่พูดกันใน[[ฮ่องกง]]และ[[มาเก๊า]] ทั้งในรัฐบาลและการเรียนการสอนในโรงเรียน ภาษานี้เป็นภาษาประจำถิ่นของเมือง[[กวางเจา]] [[มณฑลกวางตุ้ง]] และบริเวณโดยรอบทางตอนใต้ของ[[ประเทศไทย|ประเทศจีน]]
{{Infobox Language
| name = ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน
| nativename = 廣州話 / 广州话 ''Gwóngjàu wá''<ref>Yale romanization scheme for Standard Cantonese of Cantonese. For other native names, see section "[[#Names|Names]]."</ref>
| familycolor = Sino-Tibetan
| states = Southern [[People's Republic of China|China]]
| region = [[สามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียง]] (ตอนกลางของ[[มณฑลกวางตุ้ง]]; [[ฮ่องกง]], [[มาเก๊า]]) [[สหราชอาณาจักร]]; [[แวนคูเวอร์]]; [[โทรอนโต]]; [[ซานฟรานซิสโก]], [[นิวยอร์ก]][[San Gabriel Valley]]
| speakers =
| rank =
| fam2 = [[ภาษากลุ่มจีน]]
| fam3 = [[ภาษาจีน]]
| fam4 = [[ภาษากวางตุ้ง]]
| fam5 = Yuehai
| nation = เป็นภาษาทางการใน[[ฮ่องกง]] และ[[มาเก๊า]]เป็นภาษาถิ่นใน[[สุรินาเม]]
| iso1 = zh|iso2b=chi|iso2t=zho|iso3=yue}}
'''ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน''' หรือ '''สำเนียงกวางเจา''' คือ[[สำเนียง]]ของ[[ภาษากวางตุ้ง]]ที่เป็นที่ยอมรับให้เป็นสำเนียงมาตรฐาน ใช้เป็นภาษาราชการที่พูดกันใน[[ฮ่องกง]]และ[[มาเก๊า]] ทั้งในรัฐบาลและการเรียนการสอนในโรงเรียน ภาษานี้เป็นภาษาประจำถิ่นของเมือง[[กวางเจา]] [[มณฑลกวางตุ้ง]] และบริเวณโดยรอบทางตอนใต้ของ[[ประเทศจีน]]
 
== สัทวิทยา ==
ภาษากวางตุ้งมาตรฐานสามารถประสม[[ต้นพยางค์]] (พยัญชนะต้น) กับ[[ภาษาไทยโคราช|ท้ายพยางค์]] (สระและพยัญชนะสะกด) ได้ประมาณ 630 เสียง โดยไม่นับเสียงวรรณยุกต์
 
=== ต้นพยางค์ ===
นักภาษาศาสตร์บางท่านจัดว่า {{IPA|/j/}} และ {{IPA|/w/}} เป็นส่วนหนึ่งของท้ายพยางค์ซึ่งมากับเสียงสระ {{IPA|/i/}} และ {{IPA|/u/}} ตามลำดับ เหมือนกับภาษาจีนกลาง บางท่านก็วิเคราะห์ว่า {{IPA|/ʔ/}} มาจากเสียงสระ เมื่อพยางค์นั้นไม่มีเสียงของพยัญชนะต้น
{| class="wikitable" style="text-align:center;"
! rowspan="2" colspan="2" | &nbsp;
! rowspan="2" | ริมฝีปาก
! colspan="2" | ฟันหรือปุ่มเหงือก
! rowspan="2" | เพดานแข็ง
! colspan="2" | เพดานอ่อน
! rowspan="2" | เส้นเสียง
|-
! style="text-align: left; font-size: 80%;" | ปกติ
! style="text-align: left; font-size: 80%;" | ผสมเสียดแทรก
! style="text-align: left; font-size: 80%;" | ปกติ
! style="text-align: left; font-size: 80%;" | ห่อริมฝีปาก
|-
!colspan="2" | เสียงนาสิก
|{{IPA|/m/}}<br /> (ม)
|{{IPA|/n/}}<br /> (น)
|&nbsp;
|&nbsp;
|{{IPA|/ŋ/}}<br /> (ง)
|&nbsp;
|&nbsp;
|-
!rowspan="2" | เสียงกัก<br /> (ไม่ก้อง)
!style="text-align: left; font-size: 80%;" | สิถิล
|{{IPA|/p/}}<br /> (ป)
|{{IPA|/t/}}<br /> (ต)
|{{IPA|/t͡s/}}<br /> (ตซ คล้าย จ)
|&nbsp;
|{{IPA|/k/}}<br /> (ก)
|{{IPA|/kʷ/}} <br /> (กว)
|( {{IPA|/ʔ/}} ) <br /> (อ)
|-
! style="text-align: left; font-size: 80%;" | ธนิต
|{{IPA|/pʰ/}}<br /> (พ)
|{{IPA|/tʰ/}}<br /> (ท)
|{{IPA|/t͡sʰ/}}<br /> (ทซ คล้าย ช)
|&nbsp;
|{{IPA|/kʰ/}}<br /> (ค)
|{{IPA|/kʷʰ/}} <br /> (คว)
|&nbsp;
|-
!colspan="2" | เสียงเสียดแทรก
|{{IPA|/f/}}<br /> (ฟ)
|&nbsp;
|{{IPA|/s/}}<br /> (ซ)
|&nbsp;
|&nbsp;
|&nbsp;
|{{IPA|/h/}}<br /> (ฮ)
|-
!colspan="2" | เสียงเปิด
|&nbsp;
|{{IPA|/l/}}<br /> (ล)
|&nbsp;
|{{IPA|/j/}} <br /> (ย)
|&nbsp;
|{{IPA|/w/}} <br /> (ว)
|&nbsp;
|}
 
นักภาษาศาสตร์บางท่านจัดว่า {{IPA|/j/}} และ {{IPA|/w/}} เป็นส่วนหนึ่งของท้ายพยางค์ซึ่งมากับเสียงสระ {{IPA|/i/}} และ {{IPA|/u/}} ตามลำดับ เหมือนกับ[[ภาษาจีนกลาง]] บางท่านก็วิเคราะห์ว่า {{IPA|/ʔ/}} มาจากเสียงสระ เมื่อพยางค์นั้นไม่มีเสียงของพยัญชนะต้น
 
ในกลุ่มเสียงฐานฟันหรือปุ่มเหงือกสามารถเปลี่ยนแปรไปได้ {{IPA|/t/}} กับ {{IPA|/tʰ/}} จะอยู่ที่ฐานฟัน ในขณะที่ {{IPA|/t͡s/}}, {{IPA|/t͡sʰ/}}, {{IPA|/s/}} ซึ่งออกเสียงที่ฐานปุ่มเหงือก<!-- Need translation: and articulatory findings indicate they are not significantly palatalized by vowels.<ref>{{cite journal |last=Zee |first=Eric |date=1996 |title=Phonological Changes in Hong Kong Cantonese |journal=Current Issues In Language and Society |volume=3 |issue=2 |pages=192-198 |doi=10.1080/13520529609615469}}</ref><ref>{{cite journal |last=Lee |first=W.-S. |last2=Zee |first2=E. |date=2010 |title=Articulatory characteristics of the coronal stop, affricate, and fricative in cantonese |url=http://www.cuhk.edu.hk/journal/jcl/jcl/chin_lin/38/38_2_6.html |journal=Journal of Chinese Linguistics |volume=38 |issue=2 |pages=336-372 |doi=}}</ref> -->.
เส้น 86 ⟶ 12:
 
=== ท้ายพยางค์ ===
[[ไฟล์:Cantonese vowel chart.svg|thumb|220px|เสียงสระในภาษากวางตุ้งมาตรฐาน]]
{| class="wikitable" style="text-align:center;"
|
| colspan = 2|{{IPA|[aː]}} (อา)
| colspan = 2|{{IPA|[ɛː]}} (แอ)
| colspan = 2|{{IPA|[ɔː]}} (ออ)
| colspan = 2| {{IPA|[œː]}} (เออ)
| {{IPA|[iː]}} (อี)
| {{IPA|[uː]}} (อู)
| {{IPA|[yː]}} (อวือ)
|-
|
| ยาว || สั้น
| ยาว || สั้น
| ยาว || สั้น
| ยาว || สั้น
| ยาว
| ยาว
| ยาว
|-
| {{IPA|/-i/}}, {{IPA|/-y/}}<br /> (-ย)
|{{IPA|[aːi]}}<br /> (อาย)||{{IPA|[ɐi]}}<br /> (ไอ)
|&nbsp;||{{IPA|[ei]}}<br /> (เอ็ย)
|{{IPA|[ɔːy]}}<br /> (ออย)||&nbsp;
|&nbsp;||{{IPA|[ɵy]}}<br /> (เอย)
|&nbsp;
|{{IPA|[uːy]}}<br /> (อูย)
|&nbsp;
|-
| {{IPA|/-u/}}<br /> (-ว)
|{{IPA|[aːu]}}<br /> (อาว)||{{IPA|[ɐu]}}<br /> (เอา)
|{{IPA|[ɛːu]}}¹<br /> (แอว)||&nbsp;
|&nbsp;||{{IPA|[ou]}}<br /> (อว)
|&nbsp;||&nbsp;
|{{IPA|[iːu]}}<br /> (อีว)
|&nbsp;
|&nbsp;
|-
| {{IPA|/-m/}}<br /> (-ม)
|{{IPA|[aːm]}}<br /> (อาม)||{{IPA|[ɐm]}}<br /> (อำ)
|{{IPA|[ɛːm]}}¹<br /> (แอม)||&nbsp;
|&nbsp;||&nbsp;
|&nbsp;||&nbsp;
|{{IPA|[iːm]}}<br /> (อีม)
|&nbsp;
|&nbsp;
|-
| {{IPA|/-n/}}<br /> (-น)
|{{IPA|[aːn]}}<br /> (อาน)||{{IPA|[ɐn]}}<br /> (อัน)
|{{IPA|[ɛːn]}}¹<br /> (แอน)||&nbsp;
|{{IPA|[ɔːn]}}<br /> (ออน)||&nbsp;
|&nbsp;||{{IPA|[ɵn]}}<br /> (เอิน)
|{{IPA|[iːn]}}<br /> (อีน)
|{{IPA|[uːn]}}<br /> (อูน)
|{{IPA|[yːn]}}<br /> (อวืน)
|-
| {{IPA|/-ŋ/}}<br /> (-ง)
|{{IPA|[aːŋ]}}<br /> (อาง)||{{IPA|[ɐŋ]}}<br /> (อัง)
|{{IPA|[ɛːŋ]}}<br /> (แอง)||{{IPA|[eŋ]}}<br /> (เอ็ง)
|{{IPA|[ɔːŋ]}}<br /> (ออง)||{{IPA|[oŋ]}}<br /> (อง)
|{{IPA|[œːŋ]}}<br /> (เอิง)||&nbsp;
|&nbsp;
|&nbsp;
|&nbsp;
|-
| {{IPA|/-p/}}<br /> (-บ)
|{{IPA|[aːp]}}<br /> (อาบ)||{{IPA|[ɐp]}}<br /> (อับ)
|{{IPA|[ɛːp]}}¹<br /> (แอบ)||&nbsp;
|&nbsp;||&nbsp;
|&nbsp;||&nbsp;
|{{IPA|[iːp]}}<br /> (อีบ)
|&nbsp;
|&nbsp;
|-
| {{IPA|/-t/}}<br /> (-ด)
|{{IPA|[aːt]}}<br /> (อาด)||{{IPA|[ɐt]}}<br /> (อัด)
|{{IPA|[ɛːt]}}¹<br /> (แอด)||&nbsp;
|{{IPA|[ɔːt]}}<br /> (ออด)||&nbsp;
|{{IPA|[œːt]}}¹<br /> (เอิด)||{{IPA|[ɵt]}}<br /> (เอิด)
|{{IPA|[iːt]}}<br /> (อีด)
|{{IPA|[uːt]}}<br /> (อูด)
|{{IPA|[yːt]}}<br /> (อวืด)
|-
| {{IPA|/-k/}}<br /> (-ก)
|{{IPA|[aːk]}}<br /> (อาก)||{{IPA|[ɐk]}}<br /> (อัก)
|{{IPA|[ɛːk]}}<br /> (แอก)||{{IPA|[ek]}}<br /> (เอ็ก)
|{{IPA|[ɔːk]}}<br /> (ออก)||{{IPA|[ok]}}<br /> (อก)
|{{IPA|[œːk]}}<br /> (เอิก)||&nbsp;
|&nbsp;
|&nbsp;
|&nbsp;
|}
และพยางค์นาสิกอีก 2 พยางค์ได้แก่ {{IPA|[m̩]}} (ทำปาก ม แล้วเปล่งเสียง), {{IPA|[ŋ̩]}} (ทำปาก ง แล้วเปล่งเสียง)
 
เส้น 183 ⟶ 17:
 
=== วรรณยุกต์ ===
เสียงวรรณยุกต์ในภาษากวางตุ้งมาตรฐานมี 6 เสียง ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนดั้งเดิมสอนว่ามี 9 เสียง แต่ก็มี 3 เสียงที่ซ้ำกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าพยางค์นั้นเป็นพยางค์เปิด ([[คำเป็น]]) หรือพยางค์ปิด ([[คำตาย]])
 
{| class="wikitable" style="text-align:center;"
|-
! พยางค์
! colspan="6" | พยางค์เปิด
! colspan="3" | พยางค์ปิด
|-
! หมายเลข
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7 (หรือ 1) || 8 (หรือ 3) || 9 (หรือ 6)
|-
! ระดับเสียง
| สูง,<br />สูง-กลาง || กลาง-สูง || กลาง
| กลาง-ต่ำ,<br />ต่ำ || ต่ำ-กลาง || กึ่งต่ำ
| สูง || กลาง || กึ่งต่ำ
|-
! ตัวอย่าง
| 詩 || 史 || 試 || 時 || 市 || 是 || 識 || 錫 || 食
|-
! เสียงอ่าน
| {{IPA|/si˥/}},<br />{{IPA|/si˥˧/}} || {{IPA|/si˧˥/}} || {{IPA|/si˧/}}
| {{IPA|/si˨˩/}},<br />{{IPA|/si˩/}} || {{IPA|/si˩˧/}} || {{IPA|/si˨/}}
| {{IPA|/sek˥/}} || {{IPA|/sɛk˧/}} || {{IPA|/sek˨/}}
|-
! กำกับเครื่องหมาย
| {{IPA|sí}}, {{IPA|sî}} || {{IPA|sǐ}} || {{IPA|sī}}
| {{IPA|si̖}}, {{IPA|sı̏}} || {{IPA|si̗}} || {{IPA|sì}}
| {{IPA|sék}} || {{IPA|sɛ̄k}} || {{IPA|sèk}}
|-
! ระบบเยล
| sī, sì || sí || si
| sīh, sìh || síh || sih
| sīk || sek || sihk
|}
 
== ดูเพิ่ม ==
{{วิกิภาษาอื่น|code=zh-yue}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ภาษาจีน}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาในตระกูลภาษาจีน]]
{{โครงภาษา}}