ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐกิจพอเพียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
">[http://web.archive.org/20070310183827
{{ความหมายอื่น|||การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ}}
ไม่มีข้อมมูลหนอก55555
{{ระวังสับสน|ทฤษฎีใหม่}}
'''เศรษฐกิจพอเพียง''' เป็น[[ปรัชญา]]ที่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]มีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา<ref name="king-words-ku-2517">[http://www.sa.ku.ac.th/king-spku/2517-1.htm ''พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์'']ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗</ref><ref name="king-words-2517">พระราชกระแสรับสั่งในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่ผู้เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาแต่พระพุทธศักราช 2517, อ้างใน ว.วชิรเมธี, [http://web.archive.org/20070810182030/dnfe5.nfe.go.th/localdata/webimags/story248Self-economic.html ''ความสับสนเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง''], เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 763 วันที่ 12-18 มกราคม พ.ศ. 2550</ref> และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไข[[วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540]] ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแส[[โลกาภิวัตน์]]และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ <ref name="CSE-phil">[http://web.archive.org/20070310183827/cse.nida.ac.th/phil.htm ศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]</ref>
 
นักวิชาการไทยหลายคนร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น [[ประเวศ วะสี|ศ.นพ.ประเวศ วะสี]], [[เสน่ห์ จามริก|ศ.เสน่ห์ จามริก]], [[อภิชัย พันธเสน|ศ.อภิชัย พันธเสน]], และ[[ฉัตรทิพย์ นาถสุภา|ศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา]] เชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ[[วัฒนธรรมชุมชน]] ด้าน[[สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลเพื่อบรรจุใน[[แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]] ฉบับที่ 9<ref name="CSE-phil" /><ref>[http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p9/intro2.doc สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ''เอกสารสรุปสาระสำคัญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙'']</ref>
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูจาก[[องค์การสหประชาชาติ]] ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ<ref name="un-secretary-2006">[http://www.un.org/News/Press/docs/2006/sgsm10478.doc.htm UN Secretary-General office. THAI KING’S DEVELOPMENT AGENDA, VISIONARY THINKING INSPIRATION TO PEOPLE EVERYWHERE, SAYS SECRETARY-GENERAL TO BANGKOK PANEL]</ref> และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน<ref name="un-news">[http://www.un.org/apps/news/story.asp?NewsID=18625&Cr=Thai&Cr1= UN News Center. With new Human Development award, Annan hails Thai King as example for the world]</ref> โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อตั้งคำถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ<!-- ดูส่วนการวิพากษ์ -->
 
== หลักปรัชญา ==