ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7372700 สร้างโดย 1.47.108.74 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก|small=yes}}'''ภาษาอังกฤษ''' หรือ '''ภาษาอังกฤษใหม่''' เป็นภาษาใน[[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก]]ที่ใช้ครั้งแรกใน[[อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน|อังกฤษสมัยต้นยุคกลาง]] และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก<ref>Mydans, Seth (14 May 2007) [http://www.nytimes.com/2007/05/14/world/asia/14iht-14englede.5705671.html "Across cultures, English is the word"] ''New York Times''. Retrieved 21 September 2011</ref> ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง [[สหราชอาณาจักร]] [[สหรัฐอเมริกา]] [[แคนาดา]] [[ออสเตรเลีย]] [[ไอร์แลนด์]] [[นิวซีแลนด์]] และประเทศใน[[แคริบเบียน]] พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจาก[[ภาษาจีนกลาง]]และ[[ภาษาสเปน]]<ref name="ethnologue" /> มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของ[[สหภาพยุโรป]] หลายประเทศ[[เครือจักรภพแห่งชาติ]] และ[[สหประชาชาติ]] ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ
{{กึ่งล็อก|small=yes}}
{{ระวังสับสน|ภาษาอังกฤษเก่า}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = ภาษาอังกฤษ
| nativename = English
| familycolor = Indo-European
| pronunciation = /ˈɪŋglɪʃ/ ''อิงกลิช''<br>/ˈɪŋlɪʃ/ ''อิงลิช''
| states = ดู[[#การกระจายทางภูมิศาสตร์|ด้านล่าง]]
| speakers = ภาษาที่หนึ่ง 360 ล้านคน (2553)<ref name=NE>[[Nationalencyklopedin]] "Världens 100 största språk 2010" The World's 100 Largest Languages in 2010</ref><br>ภาษาที่สอง 375 ล้านคน และภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ 750 ล้านคน<ref name=BritishCouncilEnglish>{{cite web |url=http://www.britishcouncil.org/learning-elt-future.pdf |title=Future of English|accessdate=24 August 2011 |publisher=The British Council}} (page 10)</ref>
| rank =
| fam2 = [[ภาษากลุ่มเจอร์แมนิก|เจอร์แมนิก]]
| fam3 = [[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก|เจอร์แมนิกตะวันตก]]
| fam4 = [[กลุ่มภาษาแองโกล-ฟริเซียน|แองโกล-ฟริเซียน]]
| fam5 = [[กลุ่มภาษาแองกลิก|แองกลิก]]
| nation = 54 ประเทศ<br>องค์การมิใช่รัฐ 27 องค์การ<br>และอีกหลายองค์การ
| iso1 = en|iso2=eng|iso3=eng
|script =
| map = Anglospeak.png
| mapcaption =
{{legend|#0000ff|ประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการหรือเป็นภาษาราชการโดยพฤตินัย หรือเป็นภาษาประจำชาติ และประชากรส่วนใหญ่พูดเป็นภาษาแม่}}
{{legend|#8ddada|ประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่มิใช่ภาษาหลัก}}
}}
 
ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณ[[สกอตแลนด์]]ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของ[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]]และ[[สหราชอาณาจักร]]ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่าน[[จักรวรรดิอังกฤษ]] และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>[[#refAmmon2006|Ammon]], pp.&nbsp;2245–2247.</ref><ref>[[#refSchneider2007|Schneider]], p.&nbsp;1.</ref><ref>[[#refMazrui1998|Mazrui]], p.&nbsp;21.</ref><ref>[[#refHowatt2004|Howatt]], pp.&nbsp;127–133.</ref> ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็น[[ภาษากลาง]]ในหลายภูมิภาค<ref>[[#refCrystal1997|Crystal]], pp.&nbsp;87–89.</ref><ref>[[#refWardhaugh2006|Wardhaugh]], p.&nbsp;60.</ref>
'''ภาษาอังกฤษ''' หรือ '''ภาษาอังกฤษใหม่''' เป็นภาษาใน[[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก]]ที่ใช้ครั้งแรกใน[[อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน|อังกฤษสมัยต้นยุคกลาง]] และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก<ref>Mydans, Seth (14 May 2007) [http://www.nytimes.com/2007/05/14/world/asia/14iht-14englede.5705671.html "Across cultures, English is the word"] ''New York Times''. Retrieved 21 September 2011</ref> ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง [[สหราชอาณาจักร]] [[สหรัฐอเมริกา]] [[แคนาดา]] [[ออสเตรเลีย]] [[ไอร์แลนด์]] [[นิวซีแลนด์]] และประเทศใน[[แคริบเบียน]] พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจาก[[ภาษาจีนกลาง]]และ[[ภาษาสเปน]]<ref name="ethnologue" /> มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของ[[สหภาพยุโรป]] หลายประเทศ[[เครือจักรภพแห่งชาติ]] และ[[สหประชาชาติ]] ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ
 
เนื่องจากการกลมกลืน
ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณ[[สกอตแลนด์]]ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของ[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]]และ[[สหราชอาณาจักร]]ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่าน[[จักรวรรดิอังกฤษ]] และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>[[#refAmmon2006|Ammon]], pp.&nbsp;2245–2247.</ref><ref>[[#refSchneider2007|Schneider]], p.&nbsp;1.</ref><ref>[[#refMazrui1998|Mazrui]], p.&nbsp;21.</ref><ref>[[#refHowatt2004|Howatt]], pp.&nbsp;127–133.</ref> ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็น[[ภาษากลาง]]ในหลายภูมิภาค<ref>[[#refCrystal1997|Crystal]], pp.&nbsp;87–89.</ref><ref>[[#refWardhaugh2006|Wardhaugh]], p.&nbsp;60.</ref>
 
ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า [[ภาษาอังกฤษเก่า]] ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์[[ภาษาละติน]] เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรป<ref name="Weissbort">Daniel Weissbort (2006). "Translation: theory and practice : a historical reader". p.100. Oxford University Press, 2006</ref> ภาษาอังกฤษยังได้รับอิทธิพลเพิ่มจาก[[ภาษานอร์สเก่า]]เพราะ[[บริเวณเดนลอว์|การบุกครองของไวกิ้ง]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และ 10
 
[[การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ทำให้ภาษาอังกฤษยืมคำมาจาก[[ภาษานอร์มัน]]อย่างมาก และสัญนิยมคำศัพท์และการสะกดเริ่มให้ลักษณะความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[กลุ่มภาษาโรมานซ์]]<ref>{{cite web |url=http://www.historyworld.net/wrldhis/PlainTextHistories.asp?historyid=ab13 |title=Words on the brain: from 1&nbsp;million years ago?
|work=History of language |accessdate=5 September 2010}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.orbilat.com/Influences_of_Romance/English/RIFL-English-Latin-The_Inflluences_on_Old_English.html |title=Latin Influences on Old English |author=Baugh, Albert C. and Cable, Thomas |year=1978 |work=An excerpt from Foreign Influences on Old English |accessdate=5 September 2010}}</ref> แก่ภาษาที่ต่อมากลายเป็น[[ภาษาอังกฤษกลาง]] [[การเลื่อนสระครั้งใหญ่]] (Great Vowel Shift) ซึ่งเริ่มขึ้นทางตอนใต้ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นเครื่องหมายของการกำเนิดของภาษาอังกฤษใหม่จากภาษาอังกฤษกลาง
 
เนื่องจากการกลมกลืนคำจากภาษาอื่นมากมายตลอดประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษใหม่จึงมีคำศัพท์ใหญ่มาก โดยมีการสะกดที่ซับซ้อนและไม่สม่ำเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสระ ภาษาอังกฤษใหม่ไม่เพียงแต่กลมกลืนคำจากภาษาอื่นของยุโรปเท่านั้น แต่ยังรวมภาษาอื่นทั่วโลกด้วย [[พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด]]แสดงรายการคำไว้กว่า 250,000 คำ ซึ่งยังไม่รวมศัพท์เทคนิค วิทยาศาสตร์และ[[สแลง]]<ref>{{cite web |url=http://www.oxforddictionaries.com/page/howmanywords |title=How many words are there in the English Language? |publisher=Oxforddictionaries.com}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.vistawide.com/languages/language_statistics.htm |title=Vista Worldwide Language Statistics |publisher=Vistawide.com |accessdate=31 October 2010}}</ref>
 
== ความสำคัญ ==
เส้น 44 ⟶ 16:
 
== การกระจายทางภูมิศาสตร์ ==
มีผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่งราว 360 ล้านคน ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษอาจเป็นภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดเป็นอันดับสาม รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน<ref name = "ethnologue">{{cite web|url=http://www.sil.org/ethnologue/top100.html |title=Ethnologue, 1999 |accessdate=31 October 2010 |archiveurl=http://web.archive.org/web/19990429232804/www.sil.org/ethnologue/top100.html |archivedate=29 April 1999}}</ref> อย่างไรก็ดี เมื่อรวมผู้ที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่และมิใช่ภาษาแม่แล้ว ภาษาอังกฤษก็อาจเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดในโลก แม้อาจน้อยกว่าผู้พูด[[ภาษาจีน]]รวมกัน (ขึ้นอยู่กับว่านับรวมเป็น "ภาษา" หรือนับแยกเป็น "ภาษาถิ่น")<ref name=autogenerated1>[http://www2.ignatius.edu/faculty/turner/languages.htm Languages of the World (Charts)], Comrie (1998), Weber (1997), and the Summer Institute for Linguistics (SIL) 1999 Ethnologue Survey. Available at [http://www2.ignatius.edu/faculty/turner/languages.htm The World's Most Widely Spoken Languages]</ref><ref name=Mair>{{cite journal|url=http://sino-platonic.org/complete/spp029_chinese_dialect.pdf|format=PDF|journal=Sino-Platonic Papers|last=Mair|first=Victor H.|authorlink=Victor H. Mair|title=What Is a Chinese "Dialect/Topolect"? Reflections on Some Key Sino-English Linguistic Terms|year=1991|ref=harv}}</ref>
 
การประมาณซึ่งรวมผู้พูดเป็นภาษาที่สองนั้นแปรผันอย่างมากตั้งแต่ 470 ล้านคน ถึงกว่าหนึ่งพันล้านคน ขึ้นอยู่กับว่านิยามและวัด[[การรู้หนังสือ]]หรือความชำนาญอย่างไร<ref>{{cite web |url=http://columbia.tfd.com/English+language |title=''English Language'' |accessdate=26 March 2007 |year=2005 |publisher=Columbia University Press }}</ref><ref>[http://www.oxfordseminars.com/graduate-career-assistance/esl-teaching-jobs.php 20,000 ESL Teaching Jobs] Oxford Seminars. Retrieved 17 April 2012</ref> เดวิด คริสทอล (David Crystal) ศาสตราจารย์ด้านภาษาศาสตร์ คำนวณว่าผู้ที่พูดมิใช่ภาษาแม่นั้นมีมากกว่าผู้พูดเป็นภาษาแม่เป็นสัดส่วน 3 ต่อ 1<ref>{{Cite book | last = Crystal | first = David | author-link = David Crystal | title = English as a Global Language | edition = 2nd |publisher = Cambridge University Press | page = 69 | year = 2003 | url = http://books.google.com/?id=d6jPAKxTHRYC | isbn = 978-0-521-53032-3}}, cited in
เส้น 51 ⟶ 23:
ประเทศที่มีประชากรผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่มากที่สุด ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (226 ล้านคน)<ref name="US speakers">{{cite web|url=http://www.census.gov/prod/2005pubs/06statab/pop.pdf|title=U.S. Census Bureau, Statistical Abstract of the United States: 2003, Section 1 Population|format=PDF|publisher=U.S. Census Bureau}} Table 47 gives the figure of 214,809,000 for those five years old and over who speak exclusively English at home. Based on the American Community Survey, these results exclude those living communally (such as college dormitories, institutions, and group homes), and by definition exclude native English speakers who speak more than one language at home.</ref> สหราชอาณาจักร (61 ล้านคน)<ref name="Crystal">{{cite web|url=http://www.cambridge.org/catalogue/catalogue.asp?isbn=0521530334 |title=''The Cambridge Encyclopedia of the English Language''|edition=2nd|author= Crystal, David|location= Cambridge, UK|publisher= Cambridge University Press|year=1995}}</ref> แคนาดา (18.2 ล้านคน)<ref name="Canada speakers">[http://www12.statcan.ca/english/census06/data/highlights/language/Table401.cfm Population by mother tongue and age groups, 2006 counts, for Canada, provinces and territories–20% sample data], Census 2006, [[Statistics Canada]].</ref> ออสเตรเลีย (15.5 ล้านคน)<ref name="Australia speakers">[http://www.censusdata.abs.gov.au/ABSNavigation/prenav/ViewData?action=404&documentproductno=0&documenttype=Details&order=1&tabname=Details&areacode=0&issue=2006&producttype=Census%20Tables&javascript=true&textversion=false&navmapdisplayed=true&breadcrumb=TLPD&&collection=Census&period=2006&productlabel=Language%20Spoken%20at%20Home%20by%20Sex%20-%20Time%20Series%20Statistics%20(1996,%202001,%202006%20Census%20Years)&producttype=Census%20Tables&method=Place%20of%20Usual%20Residence&topic=Language& Census Data from Australian Bureau of Statistics] Main Language Spoken at Home. The figure is the number of people who only speak English at home.</ref> ไนจีเรีย (3-5 ล้านคน)<ref>{{cite journal|author=Ihemere, Kelechukwu Uchechukwu|year= 2006|url=http://www.njas.helsinki.fi/pdf-files/vol15num3/ihemere.pdf |title=A Basic Description and Analytic Treatment of Noun Clauses in Nigerian Pidgin|journal=Nordic Journal of African Studies|volume= 15|issue=3|pages= 296–313}}</ref> ไอร์แลนด์ (3.8 ล้านคน)<ref name="Crystal" /> แอฟริกาใต้ (3.7 ล้านคน)<ref name="SA speakers">[http://www.statssa.gov.za/publications/CinBrief/CinBrief2001.pdf Census in Brief], page 15 (Table 2.5), 2001 Census, [[Statistics South Africa]]</ref> และนิวซีแลนด์ (3.6 ล้านคน) ตามลำดับ ข้อมูลมาจากสำมะโนปี 2549<ref>{{cite web |title=About people, Language spoken |url=http://www.stats.govt.nz/Census/2006-census-data/classification-counts-tables/about-people/language-spoken.aspx |archiveurl=http://web.archive.org/web/20091015063211/http://www.stats.govt.nz/Census/2006-census-data/classification-counts-tables/about-people/language-spoken.aspx |archivedate=2009-10-15 |publisher=[[Statistics New Zealand]] |date=2006 census |accessdate=28 September 2009}} (links to Microsoft Excel files)</ref>
หลายประเทศ อย่าง[[ฟิลิปปินส์]] [[จาเมกา]]และ[[ไนจีเรีย]]ยังมีผู้พูดภาษาถิ่นต่อเนื่อง (dialect continuum) เป็นภาษาแม่อีกหลายล้านคน ซึ่งมีตั้งแต่ภาษาครีโอล (creole language) อิงภาษาอังกฤษไปจนถึงภาษาอังกฤษรุ่นที่เป็นมาตรฐานมากกว่า [[ประเทศอินเดีย]]เป็นประเทศที่มีผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองมากที่สุด คริสทอลอ้างว่า เมื่อรวมผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่และไม่เป็นภาษาแม่รวมกัน ปัจจุบัน ประเทศอินเดียมีประชากรที่พูดหรือเข้าใจภาษาอังกฤษมากกว่าประเทศใดในโลก<ref>Crystal, David (2004-11-19) [http://education.guardian.co.uk/tefl/story/0,,1355064,00.html Subcontinent Raises Its Voice], ''Guardian Weekly''.</ref><ref>{{cite journal|author=Zhao, Yong and Campbell, Keith P. |year=1995|title=English in China|journal= World Englishes |volume=14 |issue=3|pages= 377–390|quote= Hong Kong contributes an additional 2.5&nbsp;million speakers (1996 by-census)|doi=10.1111/j.1467-971X.1995.tb00080.x}}</ref>
 
=== ประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ===
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักใน[[แองกวิลลา]] [[ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา|แอนติกาและบาร์บูดา]] ออสเตรเลีย [[บาฮามาส]] [[บาร์บาโดส]] [[เบลีซ]] [[เบอร์มิวดา]] [[บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี]] [[หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน]] แคนาดา [[หมู่เกาะเคย์แมน]] [[ดอมินีกา]] [[หมู่เกาะฟอล์คแลนด์]] [[ยิบรอลตาร์]] [[เกรนาดา]] [[กวม]] [[เกิร์นซีย์]] [[กายอานา]] ไอร์แลนด์ [[เกาะแมน]] จาไมกา [[เจอร์ซีย์]] [[มอนต์เซอร์รัต]] [[นาอูรู]] นิวซีแลนด์ [[หมู่เกาะพิตแคร์น]] [[เซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา]] [[ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส|เซนต์คิตส์และเนวิส]] [[เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์]] สิงคโปร์ [[เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช]] [[ตรินิแดดและโตเบโก]] [[หมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส]] สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา
 
ในบางประเทศซึ่งภาษาอังกฤษมิใช่ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุด แต่เป็นภาษาราชการ ได้แก่ [[บอตสวานา]] [[แคเมอรูน]] [[สหพันธรัฐไมโครนีเซีย]] [[ฟิจิ]] [[แกมเบีย]] [[กานา]] อินเดีย [[เคนยา]] [[คิริบาส]] [[เลโซโท]] [[ไลบีเรีย]] [[มอลตา]] [[หมู่เกาะมาร์แชลล์]] [[มอริเชียส]] [[นามิเบีย]] ไนจีเรีย ปากีสถาน [[ปาเลา]] [[ปาปัวนิวกินี]] ฟิลิปปินส์ [[รวันดา]] [[เซนต์ลูเซีย]] [[ซามัว]] [[ประเทศเซเชลส์|เซเชลส์]] [[เซียร์ราลีโอน]] [[หมู่เกาะโซโลมอน]] [[ศรีลังกา]] [[ซูดาน]] [[เซาท์ซูดาน]] [[สวาซิแลนด์]] [[แทนซาเนีย]] [[ยูกันดา]] [[แซมเบีย]]และ[[ซิมบับเว]] นอกจากนี้ยังมีบางประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการร่วมในบางดินแดน เช่น [[กลุ่มเกาะซันอันเดรส โปรบีเดนเซีย และซันตากาตาลีนา]]ของโคลอมเบีย และ[[มัสคีโทโคสท์]]ของนิการากัว ซึ่งเป็นผลจากการยึดเป็นอาณานิคมของอังกฤษในพื้นที่
 
ภาษาอังกฤษยังเป็นหนึ่งใน 11 ภาษาราชการที่ได้รับสถานภาพเท่ากันในแอฟริกาใต้ ภาษาอังกฤษยังเป็นภาษาราชการใน[[ดินแดนในภาวะพึ่งพิง]] ปัจจุบันของออสเตรเลีย ([[เกาะนอร์ฟอล์ก]] [[เกาะคริสต์มาส]]และ[[หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)|เกาะโคคอส]]) และสหรัฐอเมริกา ([[อเมริกันซามัว]] [[กวม]] [[หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา]] [[เปอร์โตริโก]] และ[[หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา]] และอดีตอาณานิคมอังกฤษ [[ฮ่องกง]]
 
แม้รัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกาจะไม่มีภาษาราชการ แต่ภาษาอังกฤษได้รับสถานะราชการโดยรัฐบาลของ 30 จาก 50 รัฐ แม้จะมิได้ระบุสถานะราชการ ภาษาอังกฤษยังเป็นภาษาสำคัญในอดีตอาณานิคมและรัฐในอารักขาของสหราชอาณาจักรหลายแห่ง เช่น [[บาห์เรน]] [[บังกลาเทศ]] บรูไน [[ไซปรัส]] มาเลเซียและ[[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]]
 
=== ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล ===
ภาษาอังกฤษมักถูกเรียกว่าเป็น "[[ภาษาสากล]]" เพราะมีการพูดอย่างกว้างขวาง และแม้จะมิใช่ภาษาราชการในประเทศส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบัน มีการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมากที่สุด ตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของการสื่อสารการบิน<ref>{{cite web|url=http://www.icao.int/Newsroom/Pages/icao-promotes-aviation-safety-by-endorsing-english-language-testing.aspx |title=ICAO Promotes Aviation Safety by Endorsing English Language Testing |publisher=International Civil Aviation Organization|date=13 October 2011}}</ref>และในทะเล<ref>{{cite web|url=http://www.imo.org/Safety/index.asp?topic_id=357 |title=IMO Standard Marine Communication Phrases |publisher=International Maritime Organization |archiveurl=http://web.archive.org/web/20031227092334/www.imo.org/Safety/index.asp?topic_id=357|archivedate=27 December 2003}}</ref> ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหประชาชาติและองค์การระหว่างประเทศอีกหลายแห่ง ซึ่งรวมถึง[[คณะกรรมการโอลิมปิกสากล]]
 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่มีการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศมากที่สุดในสหภาพยุโรป ถึง 89% ในเด็กวัยเรียน นำหน้าภาษาฝรั่งเศสที่ 32% ขณะที่การรับรู้ประโยชน์ของภาษาต่างประเทศในบรรดาชาวยุโรป คือ 68% สนับสนุนภาษาอังกฤษ มากกว่าภาษาฝรั่งเศสที่ 25%<ref name="srv06">[http://ec.europa.eu/education/languages/pdf/doc631_en.pdf 2006 survey] by [[Eurobarometer]].</ref> ในบรรดาบางประเทศสหภาพยุโรปที่ไม่พูดภาษาอังกฤษ ประชากรผู้ใหญ่จำนวนมากอ้างว่าสามารถสนทนาภาษาอังกฤษได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สวีเดน 85%, เดนมาร์ก 83%, เนเธอร์แลนด์ 79%, ลักเซมเบิร์ก 66% และในฟินแลนด์ สโลวีเนีย ออสเตรเลีย เบลเยียมและเยอรมนี กว่า 50%<ref>{{cite web|url=http://ec.europa.eu/public_opinion/archives/ebs/ebs_237.en.pdf |title=Microsoft Word&nbsp;– SPECIAL NOTE Europeans and languagesEN 20050922.doc |format=PDF |accessdate=21 April 2010}}</ref> ในปี 2555 หากไม่นับผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ชาวยุโรป 38% มองว่าตนสามารถพูดภาษาอังกฤษ<ref>http://ec.europa.eu/public_opinion/archives/ebs/ebs_386_en.pdf</ref> แต่ชาวญี่ปุ่นเพียง 3% ที่มองเช่นนั้น<ref name="net-lang.net">http://net-lang.net//externDisplayer/displayExtern/_path_/netlang_EN_pdfedition.pdf</ref>
 
หนังสือ นิตยสารและหนังสือพิมพ์ที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษพบได้ในหลายประเทศทั่วโลก และภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้มากที่สุดในแวดวงวิทยาศาสตร์ โดยดัชนีการอ้างอิงวิทยาศาสตร์รายงานเมื่อปี 2540 ว่า บทความของดัชนีฯ 95% เขียนในภาษาอังกฤษ แม้เพียงครึ่งหนึ่งจะมาจากผู้ประพันธ์ในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ
 
วรรณกรรมภาษาอังกฤษคิดเป็น 28% ของวรรณกรรมทั้งหมดที่ตีพิมพ์ทั่วโลก และคิดเป็น 30% ของเนื้อหาเว็บในปี 2554 (จาก 50% ในปี 2543)<ref name="net-lang.net">http://net-lang.net//externDisplayer/displayExtern/_path_/netlang_EN_pdfedition.pdf</ref>
 
การใช้ภาษาอังกฤษที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกนี้ได้มีผลกระทบใหญ่หลวงต่อภาษาอื่นจำนวนมาก จนนำไปสู่ภาษาเปลี่ยนหรือกระทั่งภาษาตาย<ref>David Crystal (2000) Language Death, Preface; viii, Cambridge University Press, Cambridge</ref> และการอ้างจักรวรรดินิยมทางภาษา<ref name="one"/> ภาษาอังกฤษเองก็เปิดรับการเปลี่ยนแปลงทางภาษามากขึ้น เพราะความหลากหลายในภูมิภาคป้อนกลับไปยังภาษาโดยรวมเช่นกัน<ref name="one">{{cite journal|author=Jambor, Paul Z. |title=English Language Imperialism: Points of View|journal= Journal of English as an International Language|date=April 2007 |volume =2| pages =103–123|url=http://www.eilj.com/index.php?option=com_phocadownload&view=category&download=15:2-december-2007&id=3:free-journals}}</ref>
เส้น 77 ⟶ 49:
พยัญชนะอังกฤษสมัยใหม่ประกอบด้วยอักษร 26 ตัว ได้แก่ [[a]], [[b]], [[c]], [[d]], [[e]], [[f]], [[g]], [[h]], [[i]], [[j]], [[k]], [[l]], [[m]], [[n]], [[o]], [[p]], [[q]], [[r]], [[s]], [[t]], [[u]], [[v]], [[w]], [[x]], [[y]], [[z]] (รูปอักษรใหญ่เป็น A, B, C, D, E, F, G, H, I, J, K, L, M, N, O, P, Q, R, S, T, U, V, W, X, Y, Z ตามลำดับ) สัญลักษณ์อื่นซึ่งใช้ในการเขียนภาษาอังกฤษมีการผูก [[æ]] และ [[œ]] ซึ่งพบได้น้อย นอกจากนี้ ยังมีการใช้[[เครื่องหมายเสริมสัทอักษร]]บ้าง ส่วนใหญ่ในคำยืมจากภาษาต่างประเทศ (เช่น [[acute accent|เครื่องหมายลงน้ำหนักเด่นชัด]]ในคำว่า café และ exposé) และในการใช้เครื่องหมาย[[ไดเอเรซิส]] (diaeresis) บางครั้งเพื่อชี้ว่าสระสองตัวนั้นออกเสียงแยกกัน (เช่น ในคำว่า naïve และ Zoë)
 
ระบบการสะกด หรือ[[อักขรวิธี]] ของภาษาอังกฤษนั้นมีหลายชั้น โดยมีส่วนการสะกดภาษาฝรั่งเศส ละตินและกรีกบนระบบเจอร์แมนิกพื้นเมือง นอกจากนี้ ภาษาอังกฤษยังซับซ้อนขึ้นจากการเปลี่ยนเสียงที่ไม่ไปด้วยกันกับอักขรวิธี จึงหมายความว่า การสะกดภาษาอังกฤษมิใช่ตัวชี้บอกการออกเสียงที่น่าเชื่อถือ หรือกลับกัน เมื่อเทียบกับภาษาอื่นจำนวนมาก (กล่าวโดยทั่วไป ภาษาอังกฤษมิใช่[[อักขรวิธีเชิงหน่วยเสียง]])
 
แม้อักษรและเสียงอาจไม่สัมพันธ์กันเมื่อแยกกัน แต่กฎการสะกดซึ่งพิจารณาโครงสร้างพยางค์ สัทศาสตร์และการลงน้ำหนักนั้นน่าเชื่อถือไม่น้อยกว่า 75%<ref>{{cite journal|author=Abbott, M. |year=2000|title= Identifying reliable generalisations for spelling words: The importance of multilevel analysis|journal= The Elementary School Journal |volume=101|issue=2|pages= 233–245|jstor=1002344|doi=10.1086/499666}}</ref> การสะกดเสียงบางอย่างสนับสนุนข้ออ้างที่ว่าภาษาอังกฤษนั้นสอดคล้องกับการออกเสียงกว่า 80%<ref>Moats, L. M. (2001). Speech to print: Language essentials for teachers. Baltimore, MD: Paul H. Brookes Company, ISBN 1598570501.</ref> อย่างไรก็ดี ภาษาอังกฤษมีความสัมพันธ์สอดคล้องระหว่างเสียงกับอักษรน้อยกว่าภาษาอื่นจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น ลำดับอักษร ough สามารถออกเสียงได้ถึง 10 วิธี ผลของประวัติอักขรวิธีซับซ้อนนี้ คือ การอ่านอาจเป็นสิ่งท้าทาย<ref>McGuinness, Diane (1997) ''Why Our Children Can't Read'', New York: Touchstone, pp. 156–169, ISBN 0684853566.</ref> ผู้เรียนต้องใช้เวลานานกว่าภาษาอื่นจึงจะเป็นนักอ่านภาษาอังกฤษได้คล่องอย่างสมบูรณ์ ซึ่งรวมถึงภาษาฝรั่งเศส กรีกและสเปน<ref>{{cite journal|author=Ziegler, J. C., & Goswami, U. |pmid=15631549|year=2005|title=Reading acquisition, developmental dyslexia, and skilled reading across languages: A psycholinguistic grain size theory|volume=131|issue=1|pages=3–29|doi=10.1037/0033-2909.131.1.3|journal=Psychological bulletin}}</ref> พบว่า เด็กที่พูดภาษาอังกฤษใช้เวลาเรียนอ่านนานกว่าเด็กในประเทศยุโรปอื่น 12 ประเทศสองปี<ref name="spellingsociety.org">{{cite web|url=http://www.spellingsociety.org/media/research.php |title=Media centre |publisher=Spelling Society |year= 2001|author=Seymour, Philip H K, University of Dundee|accessdate=21 April 2010}}</ref>
 
สำหรับ[[พยัญชนะ]] ความสอดคล้องระหว่างการสะกดกับการออกเสียงนั้นค่อนข้างสม่ำเสมอ อักษร b, d, f, h, j, k, l, m, n, p, r, s, t, v, w, z แทน[[หน่วยเสียง]] /b/, /d/, /f/, /h/, /dʒ/, /k/, /l/, /m/, /n/, /p/, /r/, /s/, /t/, /v/, /w/, /z/ ตามลำดับ อักษร c และ g ปกติจะแทน /k/ และ /g/ แต่ยังมีเสียง c อ่อนที่ออกเสียงเป็น /s/ และเสียง g อ่อนที่ออกเสียงเป็น /dʒ/ บางเสียงนั้นแทนด้วย[[ทวิอักษร]] ได้แก่ ch แทน /tʃ/, sh แทน /ʃ/, th แทน /θ/ หรือ /ð/, ng แทน /ŋ/ (นอกจากนี้ ph ออกเสียงเป็น /f/ ในคำที่มาจากภาษากรีก) อักษรพยัญชนะซ้อน (และ ck) โดยทั่วไปออกเสียงเป็นพยัญชนะเดี่ยว และ qu และ x ออกเสียงเป็น /kw/ และ /ks/ อักษร y เมื่อใช้เป็นพยัญชนะ แทน /j/ อย่างไรก็ดี ชุดกฎนี้มีข้อยกเว้นเช่นกัน หลายคำมีพยัญชนะที่ไม่ออกเสียงหรือออกเสียงพิเศษ
 
ส่วนสระนั้น ความสอดคล้องระหว่างการสะกดและการออกเสียงยิ่งไม่สม่ำเสมอ ภาษาอังกฤษมีหน่วยเสียงสระมากกว่าอักษรสระ (a, e, i, o, u) มาก ซึ่งหมายความว่า การประสมอักษรมักจำเป็นต้องใช้ระบุ[[สระประสมสองเสียง]]และสระยาวอื่น ๆ (เช่น oa ในคำว่า boat และ ay ในคำว่า stay) หรือการใช้ e ที่ไม่ออกเสียงหรืออุบายคล้ายกันแทน (เช่นในคำว่า note และ cake) ทว่า อุบายเหล่านี้ก็ยังไม่ใช้คงเส้นคงวา ฉะนั้น การออกเสียงสระจึงยังเป็นแหล่งความไม่สม่ำเสมอหลักในอักขรวิธีภาษาอังกฤษ
 
== สัทวิทยา ==
สัทวิทยา (ระบบเสียง) ของภาษาอังกฤษแตกต่างกันตามภาษาถิ่น คำอธิบายด้านล่างใช้ได้กับชนิดมาตรฐาน ที่เรียกว่า [[Received Pronunciation|สำเนียงอังกฤษมาตรฐาน]] (RP) และ[[General American|สำเนียงอเมริกันมาตรฐาน]]
 
=== พยัญชนะ ===
ตารางด้านล่างแสดงระบบหน่วยเสียงพยัญชนะซึ่งทำหน้าที่ในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ สัญลักษณ์ต่าง ๆ มาจาก[[สัทอักษรสากล]] (IPA) และยังใช้ระบุการออกเสียงในพจนานุกรมหลายเล่ม
 
{| class="wikitable"
เส้น 171 ⟶ 143:
|}
 
หากพยัญชนะมาเป็นคู่ (เช่น "p b") พยัญชนะตัวแรกจะไม่ก้อง ออกเสียงตัวที่สอง สัญลักษณ์ส่วนมากแสดงเสียงเดียวกับตามปกติเมื่อใช้เป็นอักษร แต่ /j/ แทนเสียงแรกของ '''y'''acht สัญลักษณ์ /ʃ/ แทนเสียง sh, /ʒ/ แทนเสียงกลางของ vi'''si'''on, /tʃ/ แทนเสียง ch, /dʒ/ แทนเสียง j ใน jump, /θ/ และ /ð/ แทนเสียง th ใน '''th'''ing และ '''th'''is ตามลำดับ, และ /ŋ/ แทนเสียง ng ใน si'''ng''' [[เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง]] /x/ มิใช่หน่วยเสียงปกติในภาษาอังกฤษชนิดส่วนใหญ่ แม้ผู้พูดคำภาษาสกอต/เกลิคบางคนใช้ เช่น lo'''ch''' หรือในคำยืมอื่น เช่น '''ch'''anukah
 
การแปรผันในการออกเสียงพยัญชนะที่โดดเด่นบางอย่าง ได้แก่
* ในการลงน้ำหนักไม่[[rhotic accent|รัวลิ้น]] เช่น สำเนียงอังกฤษมาตรฐานและสำเนียงออสเตรเลีย /r/ สามารถปรากฏก่อนสระเท่านั้น (ฉะนั้นจึงไม่มีเสียง "r" ในคำอย่าง card) การออกเสียง /r/ ตามจริงนั้นแตกต่างกันตามภาษาถิ่น แต่ที่พบมากที่สุด คือ เสียงเปิด ปุ่มเหงือก [ɹ]
* ในสำเนียงอเมริกาเหนือและสำเนียงออสเตรเลีย /t/ และ /d/ เป็น[[เสียงลิ้นสะบัด]] [ɾ] ในหลายตำแหน่งระหว่างสระ<ref>{{cite journal|last=Cox |first=Felicity |year=2006 |title=Australian English Pronunciation into the 21st century |url=http://www.shlrc.mq.edu.au/~felicity/Papers/Prospect_Erratum_v1.pdf |format=PDF|accessdate=22 July 2007 |journal=Prospect |volume=21 |pages=3–21 |archiveurl = http://web.archive.org/web/20070724185054/http://www.shlrc.mq.edu.au/~felicity/Papers/Prospect_Erratum_v1.pdf |archivedate = 24 July 2007|ref=harv}}</ref> ซึ่งหมายความว่า คู่คำอย่าง latter และ ladder อาจเป็น[[คำพ้องเสียง]]สำหรับผู้พูดภาษาถิ่นเหล่านี้
* เสียง th /θ/ และ /ð/ บางครั้งออกเสียงเป็น /f/ และ /v/ ในค็อกนีย์ และเป็นเสียงระเบิด ฟัน (ซึ่งตามปกติเป็นเสียงระเบิด ปุ่มเหงือก) ในบางสำเนียงไอร์แลนด์ ในสำเนียงพื้นเมืองแอฟริกันอเมริกัน /ð/ รวมกับเสียงฟัน /d/
* [[เสียงอโฆษะ จากริมฝีปากกับเพดานอ่อน|เสียง w อโฆษะ]] [ʍ] บางครั้งเขียนเป็น /hw/ สำหรับ wh ในคำอย่าง '''wh'''en และ '''wh'''ich พบในสำเนียงสกอตแลนด์และไอร์แลนด์ และอื่น ๆ บ้าง
* เสียงระเบิดอโฆษะ /p/, /t/ และ /k/ นั้น[[เสียงธนิต|ธนิต]]บ่อยครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นพยางค์ที่เน้น แต่ไม่ธนิตหลัง /s/ ที่ต้นคำ เช่น spin
 
เส้น 317 ⟶ 289:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== บรรณานุกรม ==
* {{cite book| first=Ulrich| last=Ammon| title=Sociolinguistics: An International Handbook of the Science of Language and Society| publisher=Walter de Gruyter| year=2006| isbn=3-11-018418-4| url=http://books.google.com/?id=LMZm0w0k1c4C| ref=refAmmon2006}}
* {{cite book |last=Baugh |first=Albert C. |coauthors=Thomas Cable |title=A History of the English Language | edition=5th |publisher=Routledge |year=2002 |isbn=0-415-28099-0|ref=Baugh}}
*
* {{cite book |last=Bragg |first=Melvyn |authorlink=Melvyn Bragg |title=[[The Adventure of English]]: The Biography of a Language |publisher=Arcade Publishing |year=2004 |isbn=1-55970-710-0}}
* {{cite book |last=Crystal |first=David |authorlink=David Crystal |year=1997 |title=English as a Global Language |location=Cambridge |publisher=Cambridge University Press |isbn=0-521-53032-6| url=http://books.google.com/?id=d6jPAKxTHRYC| ref=Crystal1997}}
* {{cite book |last=Crystal |first=David|title=The Cambridge Encyclopedia of the English Language | edition=2nd |publisher=Cambridge University Press |year=2003 |isbn=0-521-53033-4}}
เส้น 331 ⟶ 301:
* {{cite book| first=Anthony| last=Howatt| title=A History of English Language Teaching| publisher=Oxford University Press| year=2004| isbn=0-19-442185-6| url=http://books.google.com/?id=g2e7iw_F-ZcC| ref=refHowatt2004}}
* Kenyon, John Samuel and Knott, Thomas Albert, ''A Pronouncing Dictionary of American English'', G & C Merriam Company, Springfield, Mass, USA,1953.
* {{cite book| first=Alamin| last=Mazrui| title=The Power of Babel: Language & Governance in the African Experience| publisher=University of Chicago Press| year=1998| isbn=0-85255-807-4| url=http://books.google.com/?id=6lQTPxdYx8kC| ref=refMazrui1998}}
* {{cite book |last=McArthur |first=T. (ed.) |title=The Oxford Companion to the English Language |publisher=Oxford University Press |year=1992 |isbn=0-19-214183-X}}
*
* {{cite book|last=McCrum| first=Robert|coauthors=Robert MacNeil, William Cran |title=[[The Story of English]]|edition=1st|location=New York|publisher=Viking|year=1986|isbn=0-670-80467-3}}
* {{Cite book|last=Nation |first=I.S.P. |authorlink1= Paul Nation |year=2001|title=Learning Vocabulary in Another Language|publisher=Cambridge University Press|url=http://books.google.com/books?id=sKqx8k8gYTkC|page=477|isbn=0-521-80498-1|ref=harv}}
* {{cite book |last=Plotkin |first=Vulf |title=The Language System of English |publisher=BrownWalker Press |year=2006 |isbn=1-58112-993-9}}