ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวคูณร่วมน้อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ตัวคูณร่วมน้อยที่สุด  (ค.ร.น.)
ในวิชา[[เลขคณิต]] และ[[ทฤษฎีจำนวน]] '''ตัวคูณร่วมน้อย''' หรือ '''ค.ร.น.''' ของ[[จำนวนเต็ม]]สองจำนวน ''a'' และ ''b'' มักเขียนด้วยสัญลักษณ์ '''LCM(''a'', ''b'')''' เป็นจำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่[[ตัวหาร|หาร]]ทั้ง ''a'' และ ''b'' ลงตัว<ref>Hardy & Wright, § 5.1, p. 48</ref> เนื่องจากไม่นิยามการหารด้วยศูนย์ นิยามนี้จึงหมายถึงกรณีที่ ''a'' และ ''b'' ไม่ใช่ 0 เท่านั้น.<ref name="auto">{{harvtxt|Long|1972|p=39}}</ref> อย่างไรก็ตาม นักเขียนบางคนนิยาม lcm(''a'',0) เป็น 0 สำหรับ ''a'' ใด ๆ ซึ่งเป็นผลลัพธ์ของการคูณร่วมน้อยเป็น[[อินฟิมัมและซูพรีมัม|ซูพรีมัมหรือขอบบนน้อยสุด]]ใน[[แลตทิซ]]ของการหาร
 
          ตัวคูณร่วมน้อยที่สุดของจำนวนใดๆ  ตั้งแต่ 2 จำนวนขึ้นไป  หมายถึง  จำนวนที่น้อยที่สุดที่จำนวนเหล่านั้นมาหารได้ลงตัว  หรือจำนวนที่น้อยที่สุดที่มีจำนวนเหล่านั้นเป็นตัวประกอบ
ค.ร.น. เป็นที่คุ้นเคยในวิชาเลขคณิตชั้นประถมศึกษาในชื่อ "[[ตัวส่วนร่วมน้อย]]" ที่ต้องกำหนดก่อนบวก ลบ หรือเปรียบเทียบ[[เศษส่วน]] ค.ร.น. ของจำนวนเต็มมากกว่าสองจำนวนก็มีนิยามว่า คือจำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่หารแต่ละจำนวนลงตัว
 
     วิธีการหา  ค.ร.น.
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
          1.  โดยการแยกตัวประกอบ  มีวิธีการดังนี้
 
               1)  แยกตัวประกอบของจำนวนทุกจำนวนที่ต้องการหา  ค.ร.น.
 
               2)  เลือกตัวประกอบตัวที่ซ้ำกันมาเพียงตัวเดียว
 
               3)  เลือกตัวประกอบตัวที่ไม่ซ้ำกันมาทุกตัว
 
               4)  นำจำนวนทีี่่่เลือกมาจากข้อ 2และ 3มาคูณกันทั้งหมด  เป็นค่าของ  ค.ร.น.
 
                   ตัวอย่าง      จงหา   ค.ร.น.  ของ  10,   24 และ  30
 
                        วิธีทำ       10 =  
 
                                      24 =         
 
                                      30 =  
 
                         ค.ร.น.  =  5 x 2 x 3 x 2 x 2  = 120
 
          2. โดยการหารสั้น  มีวิธีการดังนี้
 
                1) นำจำนวนทั้งหมดที่ต้องการหา  ค.ร.น.  มาตั้งเรียงกัน
 
                2) หาจำนวนเฉพาะที่สามารถหารจำนวนทั้งหมดได้ลงตัว  หรือหารลงตัวอย่างน้อย 2 จำนวน  จำนวนใดหารไม่ได้ให้ดึงลงมา
 
                3) ให้ทำซ้ำข้อ 2 จนกว่าจะหารอีกไม่ได้
 
                4) นำตัวหารทั้งหมดและผลลัพธ์สุดท้ายมาคูณกัน  ผลคูณคือค่าของ  ค.ร.น.
 
                     ตัวอย่าง    จงหา   ค.ร.น.  ของ  10,   24 และ  30
 
                         วิธีทำ    2)  10     24     30
 
                                    5)  5      12      15
 
                                    3)  1      12       3
 
                                         1       4        1
 
                         ค.ร.น.   =  2 x 5 x 3 x 4 = 120
 
ประโยชน์ของ  ค.ร.น.
 
          1. ใช้ในการหาผลบวกและผลลบของเศษส่วน  โดยทำส่วนให้เท่ากัน
 
          2.  ใช้ในการคำนวณงานบางอย่างที่ใช้เวลาต่างกัน  และหาเวลาที่จะทำพร้อมกันในครั้งต่อไป
 
== อ้างอิง ==
OAK IT ME
[[หมวดหมู่:เลขคณิต]]