ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเคราะห์นอกระบบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6861234 สร้างโดย 115.87.132.58 (พูดคุย)
บรรทัด 18:
ขณะนี้ [[กลีเซอ 581 ดี]] ดาวเคราะห์ดวงที่สี่ของ[[ดาวแคระแดง]] [[กลีเซอ 581]] (ห่างจาก[[โลก]]ประมาณ 20 [[ปีแสง]]) ดูจะเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดเท่าที่ค้นพบ มีโอกาสจะเป็น[[ดาวเคราะห์คล้ายโลก]]ซึ่งเป็นที่อยู่ของ[[สิ่งมีชีวิต]] เนื่องจากมีวงโคจรอยู่ห่างจาก[[ดาวฤกษ์]]ของมันในระยะวงโคจรที่เหมาะสม แม้ผลการตรวจวัดเบื้องต้นจะบ่งชี้ว่ามันอยู่นอก "[[เขตโกลดิล็อก]]" ก็ตาม แต่ผลสำรวจในภายหลังส่อว่ามันอาจอยู่ภายในเขตพอดีก็ได้<ref name="mayor" />
 
== นิยามนิยาย ==
[[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]]ได้นิยาม "[[ดาวเคราะห์]]" ไว้ว่า ดาวเคราะห์ต้องโคจรรอบ[[ดาวฤกษ์]]<ref>{{cite web | title=Working Group on Extrasolar Planets: Definition of a "Planet" | work=IAU position statement | date=February 28, 2003 | url=http://www.dtm.ciw.edu/boss/definition.html | accessdate=2006-09-09}}</ref> แต่ในปัจจุบันคำนิยามนี้จะใช้สำหรับดาวเคราะห์ภายใน[[ระบบสุริยะ]]เท่านั้น มิได้ใช้นิยามนี้กับดาวเคราะห์นอกระบบ<ref>{{cite web| year=2006 | title=Why Planets Will Never Be Defined| url=http://www.space.com/aol/061121_exoplanet_definition.html| accessdate=2008-02-13}}</ref> สำหรับคำนิยามของดาวเคราะห์นอกระบบ "ที่ใช้งานจริง" เริ่มกำหนดขึ้นราวปี ค.ศ. 2001 (แก้ไขล่าสุดในปี ค.ศ. 2003) โดยมีคำจำกัดความดังต่อไปนี้
 
บรรทัด 29:
มีรายงานจำนวนหนึ่งที่ศึกษาวัตถุลอยอิสระเหล่านี้ (ที่ไม่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงใดเลย) โดยเรียกพวกมันว่า "[[ดาวเคราะห์โรก]]" (rogue planet) หรือ "ดาวเคราะห์ระหว่างดวงดาว" (interstellar planet) บทความนี้จะไม่กล่าวถึงวัตถุประเภทนี้ เพราะถือว่ามิได้อยู่ภายใต้นิยามของ ''ดาวเคราะห์'' แม้ว่ามันอาจเคยเป็นดาวเคราะห์ของระบบดาวใดมาก่อนแต่ถูกดีดตัวออกมาก็ตาม
 
== ประวัติการค้นพบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ ==
 
=== การค้นพบที่ไม่ได้รับการยืนยัน ===
บรรทัด 40:
ปี ค.ศ. 1991 แอนดรูว์ ลิน, เอ็ม เบลเลส และ เอส.แอล. ชีมาร์ อ้างว่าค้นพบ[[ดาวเคราะห์พัลซาร์]]ในวงโคจรรอบดาว [[PSR 1829-10]] โดยใช้วิธีการประมวลความเปลี่ยนแปรเวลาของพัลซาร์<ref>Bailes, M.; Lyne, A.G.; Shemar, S.L. (1991). [http://www.nature.com/cgi-taf/DynaPage.taf?file=/nature/journal/v352/n6333/abs/352311a0.html "A planet orbiting the neutron star PSR1829-10"]. ''Nature'' '''352''': 311 – 313. doi:10.1038/352311a0.</ref> การกล่าวอ้างครั้งนี้ได้รับความสนใจอย่างท่วมท้น แต่ไม่นานหลังจากนั้นลินกับพวกก็เพิกถอนการค้นพบเสีย<ref>Lyne, A.G.; Bailes, M. (1992). [http://www.nature.com/cgi-taf/DynaPage.taf?file=/nature/journal/v355/n6357/abs/355213b0.html "No planet orbiting PS R1829-10"]. ''Nature'' '''355''' (6357) : 213. doi:10.1038/355213b0.</ref>
 
=== การค้นพบที่ได้รับการยืนยันแล้วแหล่วน้าาาาาาา ===
[[ไฟล์:HD179949.jpg|thumb|200px|ภาพเปรียบเทียบวงโคจรของดาวเคราะห์วงในของระบบสุริยะ (เส้นสีเหลือง) กับวงโคจรของดาวเคราะห์ในระบบ [[HD 179949]] b, [[HD 164427]] b, [[Epsilon Reticuli]] Ab, และ [[Mu Arae]] b (โดยที่ดาวฤกษ์ดวงแม่อยู่ที่จุดศูนย์กลาง)]]
 
บรรทัด 54:
จนถึงปัจจุบัน มีการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบแล้ว 3,493 ดวง<ref name="Encyclopedia" /> รวมถึงจำนวนดาวเคราะห์ที่เคยถูกปฏิเสธเมื่อปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 แต่ได้รับการยืนยันในภายหลัง ระบบดาวแห่งแรกที่ค้นพบว่ามีดาวเคราะห์มากกว่า 1 ดวงได้แก่ [[อัปซีลอนแอนดรอเมดา]] โดยที่ได้พบระบบดาวกว่า 590 แห่งแล้วที่มีดาวเคราะห์ในระบบจำนวนหลายดวง ในบรรดาดาวเคราะห์นอกระบบทั้งหมดมีดาวเคราะห์ที่เป็นดาวพัลซาร์ 4 ดวงโคจรรอบพัลซาร์อื่น 2 ดวงที่แยกจากกัน การสังเกตการณ์แผ่นจานฝุ่นระหว่างดาวในช่วงคลื่น[[อินฟราเรด]]บ่งชี้อีกว่ามี[[ดาวหาง]]อีกหลายล้านดวงอยู่ในระบบดาวฤกษ์มากมายหลายแห่ง
 
== วิธีการตั้งชื่อแหนมเอ้ยเนม ==
[[ไฟล์:Artist's concept shows four of the five planets that orbit 55 Cancri, a star much like our own.jpg|thumb|left|200px|ระบบดาว [[55 ปู]] เป็นระบบดาวที่มีดาวเคราะห์นอกระบบซึ่งได้รับการยืนยันแล้วมากที่สุด คือ 5 ดวง และอาจพบว่ามีมากกว่านี้อีก '' (ในภาพวาด) '' ดาวเคราะห์ [[55 Cancri f]] เป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่ใช้อักษร "f" ในปัจจุบัน]]
 
บรรทัด 61:
[[ไฟล์:PSR 1257+12 System.JPG|thumb|200px|[[พัลซาร์]] [[PSR B1257+12]] ได้รับการยืนยันว่าประกอบด้วยดาวเคราะห์สามดวง แต่เนื่องจากถูกค้นพบก่อนที่จะมีการตั้งชื่อดาวเคราะห์นอกระบบแบบปัจจุบัน ดาวเคราะห์จึงถูกตั้งชื่อจากตำแหน่งจากดาวฤกษ์ของดาวเคราะห์และใช้อักษรตัวใหญ่ภาษาอังกฤษ]]
 
มีระบบดาวเคราะห์เพียงแค่สองระบบเฉินลี่ที่มีการตั้งชื่อดาวเคราะห์แบบไม่ปกติ ก่อนการค้นพบดาวเคราะห์ [[51 Pegasi b]] ในปี 1995 ได้มีการค้นพบ[[ดาวเคราะห์พัลซาร์]]สองดวง (PSR B1257+12 B และ PSR 1257+12 C) จากระยะเวลาที่พัลซาร์ถูกปล่อยออกมาจากซากดาว เนื่องจากขณะนั้นยังไม่มีวิธีการตั้งชื่อดาวเคราะห์อย่างเป็นทางการ ดาวเคราะห์ทั้งสองจึงถูกเรียกว่า "B" และ "C" (คล้ายกับการตั้งชื่อดาวเคราะห์ในปัจจุบัน) การที่เลือกอักษรตัวใหญ่ในภาษาอังกฤษมาใช้ในการตั้งชื่อมีสาเหตุหลักเนื่องมาจากวิธีการตั้งชื่อให้แก่ดาวคู่โดยมาก ต่อมาเมื่อมีการค้นพบดาวเคราะห์ดวงที่สาม จึงได้รับการตั้งชื่อเป็น PSR B1257+12 A (เพราะดาวเคราะห์ดวงดังกล่าวอยู่ใกล้ดาวฤกษ์มากกว่าสองดวงที่ถูกค้นพบก่อนหน้า) <ref>{{cite web |url=http://www.users.muohio.edu/weaksjt/ |title=Extrasolar Planets |accessdate=2008-07-10 |work= |publisher= |date= }}</ref> มีบางครั้งที่การตั้งชื่อใช้[[อักษรโรมัน]] (ส่วนมากพบใน[[นิยายวิทยาศาสตร์]]) ในการเรียงลำดับดาวเคราะห์จากดาวฤกษ์ (มาจากระบบการตั้งชื่อดวงจันทร์แบบเก่า เช่น ''จูปิเตอร์โบว์กี้ IV''ปอนน่ารักก หมายถึงดวงจันทร์[[คัลลิสโต]]) แต่จากเหตุผลดังอธิบายก่อนหน้านี้ วิธีการนี้จึงไม่เหมาะสมในทางปฏิบัติ (ยกตัวอย่างเช่น[[ระบบสุริยะ]]ของเรา [[ดาวพฤหัสบดี]]ย่อมเป็นดาวเคราะห์ที่ถูกค้นพบก่อนดวงอื่น และ[[ดาวเสาร์]]เป็นลำดับถัดมา ส่วนพวกดาวเคราะห์ใกล้โลกจะไม่อาจถูกตรวจพบได้โดยง่าย ดังนั้นดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ย่อมถูกตั้งชื่อว่า ''Sol I'' และ ''Sol II'' ตามแบบวิธีการตั้งชื่อในนิยายวิทยาศาสตร์ แต่มันจะต้องถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ''Sol V'' และ ''Sol VI'' หากมีการค้นพบดาวเคราะห์ชั้นในอีก 4 ดวงในภายหลัง แต่ถ้าหากใช้วิธีการตั้งชื่ออย่างระบบปัจจุบัน แม้จะมีการค้นพบดาวเคราะห์ชั้นในในภายหลัง ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ก็ยังคงได้ชื่อว่า ''Sol b'' และ ''Sol c'' โดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนชื่อ)
 
ถ้าดาวเคราะห์ไม่ได้โคจรอยู่ในวงโคจรรอบระบบดาวคู่ จะนำตัวอักษรของชื่อดาวฤกษ์นั้นเพิ่มเข้าในชื่อของดาวเคราะห์ด้วย ถ้าดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบดาวฤกษ์ดวงหนึ่งในระบบ แล้วมีการค้นพบดาวฤกษ์ดวงที่สองภายหลังดาวเคราะห์ หรือดาวฤกษ์ดวงที่สองอยู่ไกลจากดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์ดวงแรกค่อนข้างมาก จะไม่มีการนำชื่อดาวนั้นมาเกี่ยวข้อง เช่น ดาวเคราะห์ [[Tau Bootis b]] โคจรรอบระบบดาวคู่ แต่ดาวฤกษ์ดวงที่สองถูกค้นพบภายหลังดาวเคราะห์และอยู่ค่อนข้างไกลจากดาวฤกษ์ดวงแรก จึงไม่ค่อยใช้ชื่อดาวเคราะห์เป็น "Tau Boötis Ab" เท่าใดนัก อย่างไรก็ดี (เช่นในกรณีของ [[16 Cygni Bb]] และ [[83 Leonis Bb]]) ถ้าดาวเคราะห์โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงที่สอง จะนำชื่อของดาวดวงนั้นมาใช้ด้วย ดาวเคราะห์บางดวงมีชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่อาจเทียบได้กับดาวเคราะห์ใน[[ระบบสุริยะ]] ที่น่าสนใจได้แก่ [[HD 209458 b|Osiris]] (HD 209458 b) , [[51 Pegasi b|Bellerophon]] (51 Pegasi b) และ [[PSR B1620-26 b|Methuselah]] (PSR B1620-26 b) ปัจจุบันนี้ [[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]]ยังไม่มีแผนจะกำหนดหลักเกณฑ์การตั้งชื่อดาวเคราะห์นอกระบบอย่างเป็นทางการ เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องเหลือวิสัยและไม่ได้ผล<ref>[http://www.iau.org/PLANETS_AROUND_OTHER_STARS.247.0.html Planets Around Other Stars]. เก็บข้อมูลเมื่อ 2008-07-17</ref>
 
== วิธีการตรวจสออบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ ==
== วิธีการตรวจสอบ ==
{{บทความหลัก|วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ}}
 
บรรทัด 108:
เมื่อเปรียบเทียบกับดาวเคราะห์ในระบบสุริยะเป็นจุดอ้างอิง (สีขาวขอบเทา)]]
 
=== ลักษณะของวัตถุท้องฟ้าสีคราม ===
ดาวเคราะห์นอกระบบที่ถูกค้นพบในปัจจุบันส่วนมากจะโคจรรอบดาวฤกษ์ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ[[ดวงอาทิตย์]]ของเรา คือเป็นดาวฤกษ์ใน[[แถบกระบวนหลัก]]ซึ่งมี[[การจัดประเภทดาวฤกษ์|ประเภทสเปกตรัม]] F, G หรือ K สาเหตุหนึ่งก็เนื่องมาจากโปรแกรมการค้นหาที่มุ่งศึกษาดาวฤกษ์ในประเภทนี้ ถึงอย่างไรก็ตามข้อมูลทางสถิติก็บ่งชี้ว่า โอกาสจะพบดาวเคราะห์ในระบบของดาวฤกษ์มวลน้อย ([[ดาวแคระแดง]] ซึ่งมี[[การจัดประเภทดาวฤกษ์|ประเภทสเปกตรัม]] M) ก็ค่อนข้างน้อย หรือมิฉะนั้นตัวดาวเคราะห์เองก็อาจมีมวลต่ำมากทำให้ตรวจจับได้ยากขึ้น<ref name="bonfils05">{{cite journal | author=Bonfils, X.; Forveille, T.; Delfosse, X.; et.al. | title=The HARPS search for southern extra-solar planets VI: A Neptune-mass planet around the nearby M dwarf Gl 581 | journal=Astronomy & Astrophysics | year=2005 | volume=443 | issue= | pages=L15 - L18 |doi=10.1051/0004-6361:200500193}}</ref> การสำรวจด้วย[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์]]เมื่อไม่นานมานี้ได้ค้นพบว่าดาวฤกษ์ในประเภทสเปกตรัม O ซึ่งมีความร้อนกว่าดวงอาทิตย์ของเรา จะมีปรากฏการณ์ [[การระเหยด้วยแสง]] ซึ่งส่งผลในทางขัดขวางการก่อตัวของดาวเคราะห์<ref>{{cite web |author=Linda Vu |date=2006-10-03 |accessdate=2007-09-01 |title=Planets Prefer Safe Neighborhoods |url=http://www.spitzer.caltech.edu/Media/happenings/20061003/}}</ref>
 
บรรทัด 125:
ค่า[[ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร]]เป็นการวัดว่าวงโคจรนั้นมีความรีเพียงใด ดาวเคราะห์นอกระบบที่ค้นพบส่วนมากจะมีค่าความรีค่อนข้างมาก นี่มิได้เป็นผลจากปรากฏการณ์การเลือก เพราะการตรวจจับดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์สามารถเป็นไปได้ไม่ว่าจะมีความรีของวงโคจรเพียงใด การที่ดาวเคราะห์นอกระบบมีวงโคจรที่รีมากจึงเป็นปริศนาข้อใหญ่ เนื่องจากทฤษฎีว่าด้วยการกำเนิดของดาวเคราะห์ในปัจจุบันกล่าวว่าดาวเคราะห์ควรถือกำเนิดขึ้นด้วยวงโคจรที่ค่อนข้างเป็นวงกลม (กล่าวคือไม่มีความรี) หนึ่งในทฤษฎีที่เป็นไปได้คืออาจมีดาวคู่ดวงเล็ก ๆ ดังเช่น ดาวแคระที (T dwarf: [[ดาวแคระน้ำตาล]]ประกอบด้วย[[มีเทน]]) ซ่อนอยู่ในระบบดาวฤกษ์นั้นและเป็นสาเหตุให้วงโคจรของดาวเคราะห์มีลักษณะสุดโต่งดังที่เห็น<ref name="Eberley CoS">{{cite web | title=Scientists Snap Images of First Brown Dwarf in Planetary System (News Release) | work=Eberley CoS website | date=2006-09-18 | url=http://www.science.psu.edu/alert/Luhman9-2006-2.htm | accessdate=2006-09-28}}</ref> ทฤษฎีนี้ยังอธิบายได้อีกว่า ระบบสุริยะของเราต่างหากที่ผิดปรกติ เนื่องจากดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ยกเว้น[[ดาวพุธ]] จะมีวงโคจรที่ค่อนข้างกลม <ref name="marcyprogth05">{{cite journal | author=Marcy, G.; Butler, R.; Fischer, D.; et.al. | title=Observed Properties of Exoplanets: Masses, Orbits and Metallicities | journal=Progress of Theoretical Physics Supplement | year=2005 | volume=158 | issue= | pages=24 - 42 | url=http://ptp.ipap.jp/link?PTPS/158/24 | doi=10.1143/PTPS.158.24 }}</ref>
 
=== ดาวเคราะห์นอกระบบที่เหมือนกันเซมๆ ===
 
นับถึงต้นปี ค.ศ. 2009 มีการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบแล้วมากกว่า 300 ดวง และยังมีการค้นพบเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร. อลัน บอส แห่งสถาบันวิทยาศาสตร์คาร์เนกีประมาณว่า อาจจะมีดาวเคราะห์นอกระบบถึงหนึ่งแสนล้านดวงเฉพาะในดาราจักรทางช้างเผือกของเรา ดร.บอส เชื่อว่ามีดาวเคราะห์นอกระบบหลายดวงที่มีรูปแบบชีวิตอย่างง่าย และอาจมีอารยธรรมนับพัน ๆ แห่งอยู่ในดาราจักรของเรา ดร.บอส คาดว่าดาวฤกษ์ที่มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์ทุกดวงจะมีดาวเคราะห์คล้ายโลกเฉลี่ยแห่งละ 1 ดวง