ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปลือกสมอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10438240 สร้างโดย 184.22.90.54 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ ถูกย้อนกลับแล้ว ลิงก์แก้ความกำกวม
ย้อนการแก้ไขที่ 10438241 สร้างโดย Potapt (พูดคุย) .
ป้ายระบุ: ทำกลับ ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 77:
การประมวลข้อมูลของแต่ละชั้นมีการกำหนดโดยความถี่ทางกาลเวลาที่ไม่เหมือนกัน คือว่า ชั้น 2 และ 3 มีการแกว่ง (oscillation) อย่างช้า ๆ ที่ 2 [[เฮิรตซ์]] ในขณะที่ชั้น 5 มีความแกว่งอย่างเร็ว ๆ ที่ 10-15 [[เฮิรตซ์]]<ref>{{cite journal | vauthors = Sun W, Dan Y | year = 2009 | title = Layer-specific network oscillation and spatiotemporal receptive field in the visual cortex | url = | journal = Proc Natl Acad Sci U S A | volume = 106 | issue = 42| pages = 17986–17991 | doi = 10.1073/pnas.0903962106 | pmc = 2764922 | pmid = 19805197 }}</ref>
 
==การเชื่อมต่อ==
เปลือกสมองมีการเชื่อมต่อกับเขตใต้เปลือกสมองหลายเขต เช่น [[ทาลามัส]]และ[[basal ganglia|ปมประสาทฐาน]] และส่งข้อมูลไปยังเขตเหล่านั้นโดยใยประสาทนำออก และรับข้อมูลจากเขตเหล่านั้นโดยใยประสาทนำเข้า โดยส่วนมาก ข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกทางประสาทความรู้สึกต่าง ๆ รับการส่งไปยังเปลือกสมองผ่านทาลามัส แต่ว่า ข้อมูลเกี่ยวกับกลิ่นรับการส่งผ่าน[[olfactory bulb|ส่วนป่องกลิ่น]] (olfactory bulb<ref>'''ส่วนป่องกลิ่น (olfactory bulb)''' เป็นโครงสร้างของ[[สมองส่วนหน้า]]ของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] มีกิจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้กลิ่น</ref>) ไปยัง[[piriform cortex|คอร์เทกซ์รูปชมพู่]] (piriform cortex) ซึ่งเป็นคอร์เทกซ์ที่ประมวลการรับรู้ของกลิ่น การเชื่อมต่อโดยมากในคอร์เทกซ์ไปจากเขตคอร์เทกซ์หนึ่งไปยังอีกเขตหนึ่ง ไม่ใช่ไปยังเขตใต้เปลือกสมอง เบรเท็นเบอร์ก และชูส (ค.ศ. 1991) ประมาณการเชื่อมต่อภายในคอร์เทกซ์ไว้ที่ 99%<ref>Braitenberg, V and Sch?z, A 1991. "Anatomy of the Cortex: Statistics and Geometry" NY: Springer-Verlag</ref> (และดังนั้น การเชื่อมต่อกับส่วนนอกคอร์เทกซ์ไว้ที่ 1%)
 
ยกตัวอย่างเช่น จุดที่อยู่ใกล้ ๆ กันธ์กับเซลล์ประสาทจุดที่อยู่ใกล้ ๆ กันใน แผนที่โทโพกราฟิกของเรตินานี้ เรียกว่า (re) โดยนัยเดียวกัน มีแผนที่ความถี่เสียง (tonotopic map) ในคอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิ และมีแผนที่ส่วนร่างกาย (somatotopic map) ใ
นักเขียนโดยมากพรรณนาคอร์เทกซ์ว่ามี 3 ส่วนได้แก่ เขตรับรู้ความรู้สึก (sensory) เขตสั่งการ (motor) และเขตสัมพันธ์ (association)
* (Primary motor cortex) ซึ่งดำเนิน
* [[Supplementary motor area|เขตสั่งการเสริม]] (Supplementary motor areaSrea) และ[[premotor cortex|คอร์เทกซ์พรีมอเตอร์]] (คือคอร์เทกซ์ที่อยู่ด้านหน้าของคอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ หรือ premotor cortex) ซึ่ง "เลือก" การเคลื่อนไหวที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ
 
ยิ่งไปกว่าว่านั้น กิจเกี่ยวกับการสั่งการมีความเกี่ยวข้องกับเขตอื่น ๆ รวมทั้ง
===เขตรับรู้ความรู้สึก=== <!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน มีลิงก์มาจากที่อื่น -->
* [[Primaryor motor cortex|คอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ]] (Primary motorparietal cortex) ซึ่งดำเนินนำทางการเคลื่อนไหวที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ จิตใ
'''เขตรับรู้ความรู้สึก''' ({{lang-en|sensory areas}}) รับข้อมูลและประมวลข้อมูลจากประสาทรับรู้ความรู้สึก ส่วนของคอร์เทกซ์ที่รับข้อมูลความรู้สึกจาก[[ทาลามัส]]เรียกว่า [[primary sensory areas|เขตรับรู้ความรู้สึกปฐมภูมิ]] (primary sensory areas) การเห็น การได้ยิน และการกระทบสัมผัสเป็นกิจของ[[คอร์เทกซ์สายตา]] (visual) [[auditory cortex|คอร์เทกซ์การได้ยิน]] (auditory) และ[[somatosensory cortex|คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย]] (somatosensory)
 
นักประสาทกายวิภาคไม่สามารถตกลงกันได้ว่า มีศูนย์กลางในสมองทั้งหมดกี่แห่งกันแน่ที่เป็นส่วนของนิวคลีไอฐาน แต่ตกลงกันว่าอย่างน้อย ๆ มีสามเขต คือ [[caudate nucleus|นิวเคลียสมีหาง]] (caudate nucleus) [[putamen]] และ [[globus pallidus]] ตัว putamen และ globus pallidusgllidus รวมกันเรียกอีกอย่างอีหนึ่งว่า [[lentiform nucleus|นิวเคลียสรูปเลนส์]] (lentiform nucleus) เพราะว่าเพราะาเขตเหล่านั้นรวมกันมีรูปร่างเหมือนเลนส์ และตัว putamen และนิวเคลียสมีหางเองก็รวมกันเรียกว่า [[corpus striatum]] เพราะปรากฏเป็นรอยริ้ว<ref>Saladin, Kenneth. Anatomy and Physiology: The Unity of Form and Function, 5th Ed. New York: McGraw-Hill Companies Inc, 2010. Print.</ref><ref>Dorland’s Medical Dictionary for Health Consumers, 2008.</ref>เาะปร
โดยทั่วไป [[ซีกสมอง]]ทั้งสองข้างรับข้อมูลมาจากด้านตรงข้ามของร่างกาย ยกตัวอย่างเช่น คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายของสมองซีกขวา รับข้อมูลมาจากแขนขาข้างซ้าย และคอร์เทกซ์สายตาข้างขวารับข้อมูลมาจากลานสายตาด้านซ้าย การจัดระเบียบแผนที่ที่แสดงความรู้สึกในคอร์เทกซ์ เป็นไปตามอวัยวะที่รับรู้ความรู้สึกเช่นตาเป็นต้น เป็นแผนที่มีระเบียบที่เรียกว่า [[Topographic map (Neuroanatomy)|แผนที่โทโพกราฟิก]] (topographic map<ref>'''แผนที่โทโพกราฟิก (topographic map)''' เป็นแผนที่ในสมองที่แสดงพื้นผิวของอวัยวะรับรู้ความรู้สึก เช่น[[เรตินา]]หรือ[[ผิวหนัง]] หรือส่วนของร่างกายที่เป็นหน่วยปฏิบัติงาน เช่นระบบกล้ามเนื้อ แผนที่โทโพกราฟิกมีอยู่ในระบบรับรู้ความรู้สึกทุกระบบ และในระบบสั่งการเป็นจำนวนมาก</ref>)
 
===ขธ์===
ยกตัวอย่างเช่น [[เซลล์ประสาท]]จุดที่อยู่ใกล้ ๆ กันใน[[คอร์เทกซ์สายตา]] ก็จะมีความสัมพันธ์กับเซลล์ประสาทจุดที่อยู่ใกล้ ๆ กันใน[[เรตินา]] [[Topographic map (Neuroanatomy)|แผนที่โทโพกราฟิก]]ของเรตินานี้ เรียกว่า [[retinotopy|แผนที่ผิวเรตินา]] (retinotopic<ref>'''การทำแผนที่ของผิวเรตินา (retinotopy)''' เป็นการสร้างแผนที่ของสัญญาณการเห็นจาก[[เรตินา]]ใน[[เซลล์ประสาท]] โดยเฉพาะเซลล์ประสาทที่อยู่ใน[[สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง|ทางสัญญาณทั้ง 2]] นี่สามารถเปรียบเทียบกับ[[คีย์บอร์ด]]คอมพิวเตอร์ คือ สัญญาณ[[ดิจิทัล]]ที่เกิดจากการกดปุ่มที่คีย์บอร์ด เปลี่ยนไปเป็นตัวอักษรบนจอ</ref> map) โดยนัยเดียวกัน มี[[tonotopy|แผนที่ความถี่เสียง]] (tonotopic map) ใน[[primary auditory cortex|คอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิ]] และมี[[somatotopy|แผนที่ส่วนร่างกาย]] (somatotopic map) ใน[[primary somatosensory cortex|คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ]]
'''เขตสัมพันธ์''' หรือ '''เขตประสาทสัมพันธ์''' หรือ '''คอร์เทกซ์สัมพันธ์''' ({{lang-en|association areas}}, {{lang-en|association cortex}}) ทำหน้าที่เป็นที่กำเนิดของประสบการณ์[[perception|การรับรู้]] ที่ทำความหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมให้ปรากฏ (คือทำให้เราเข้าใจสิ่งแวดล้อม) ที่ทำให้เราสามารถตอบสนองกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพปราพ และสนับสนุนให้เกิดความคิดทาง[[นามธรรม]] และการใช้ภาษา ส่วนของเขตสัมพันธ์ คือ [[สมองกลีบข้าง]] [[สมองกลีบขมับ]] และ[[occipital lobe|สมองกลีบท้ายทอย]] ซึ่งล้วนแต่อยู่ด้านหลังของคอร์เทกซ์ ทำหน้าที่จัดระเบียบข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึก เช่นการเห็นเป็นต้น ให้รู้สึเป็น[[model|แบบจำลอง]]เพื่อการรับรู้สิ่งแวดล้อมที่เข้ากัน (คล้องจองกัน ปะติดปะต่อกัน) โดยมีตัวเราเองเป็นศูนย์กลางคปะาลาง
 
สมองกลีบหน้า มีบทบาทในการวางแผนพฤติกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และในความคิดทางนามธรรม ในอดีตทกี่นน์ 22 ้ (เช่นการการอ่าน) แต่ปรากฏว่า สมรรถภาพจำกัดอยู่ในเพียงงออกและการรับรู้ของภาษา เกิดขึ้นในเขตอื่นนอกเหนือเหล่า้น เช่น พอนส์ (caudateๆ
แผนที่โทโพกราฟิกของส่วนร่างกายที่กล่าวถึงทีหลังนี้ มีรูปเป็นภาพมนุษย์ที่ผิดส่วนไป คือ ขนาดคอร์เทกซ์ที่แสดงส่วนหนึ่งของร่างกาย ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของเซลล์ประสาทในส่วนนั้น ๆ ส่วนที่มีเซลล์ประสาทรับรู้ความรู้สึกหนาแน่น เช่นปลายนิ้วและปาก ก็จะมีเขตในคอร์เทกซ์ที่ใหญ่กว่า เพื่อประมวลผลของความรู้สึกที่ละเอียดกว่านั้น
 
===เขตสั่งการ=== <!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน มีลิงก์มาจากที่อื่น -->
'''[[Motor cortex|เขตสั่งการ]]''' (motor areas) อยู่ในคอร์เทกซ์ใน[[ซีกสมอง]]ทั้งสองข้าง มีรูปร่างคล้ายกับ[[หูฟัง]]เริ่มจากหูหนึ่งแผ่ไปยังอีกหูหนึ่ง เขตสั่งการมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการควบคุมการเคลื่อนไหวที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลื่อนไหวมือที่แบ่งเป็นช่วง ๆ อย่างละเอียด เขตสั่งการในสมองซีกขวาควบคุมกายด้านซ้าย และในทางกลับกัน เขตสั่งการในสมองซีกซ้ายควบคุมกายด้านขวา
 
มีเขต 2 เขตในคอร์เทกซ์ที่เรียกว่าเขตสั่งการ ได้แก่
* [[Primary motor cortex|คอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ]] (Primary motor cortex) ซึ่งดำเนินการเคลื่อนไหวที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ
* [[Supplementary motor area|เขตสั่งการเสริม]] (Supplementary motor area) และ[[premotor cortex|คอร์เทกซ์พรีมอเตอร์]] (คือคอร์เทกซ์ที่อยู่ด้านหน้าของคอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ หรือ premotor cortex) ซึ่ง "เลือก" การเคลื่อนไหวที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ
 
ยิ่งไปกว่านั้น กิจเกี่ยวกับการสั่งการมีความเกี่ยวข้องกับเขตอื่น ๆ รวมทั้ง
* [[Posterior parietal cortex|คอร์เทกซ์สมองกลีบข้างด้านหลัง]] (Posterior parietal cortex) ซึ่งนำทางการเคลื่อนไหวที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจใน[[ปริภูมิ]]
* [[dorsolateral prefrontal cortex]] ซึ่งทำการตัดสินใจว่า จะทำการเคลื่อนไหวแบบไหน โดยขึ้นอยู่กับคำสั่ง กฎเกณฑ์ และความคิดในใจ
 
ฝังลึกภายใต้[[เนื้อขาว]]ของเปลือกสมอง ก็คือ[[เนื้อเทา]]ของเขตใต้เปลือกสมองที่เชื่อมต่อกันที่เรียกว่า [[basal nuclei|นิวคลีไอฐาน]] (basal nuclei) นิวคลีไอฐานรับข้อมูลมาจาก [[substantia nigra]] ของ[[สมองส่วนกลาง]]และ[[motor areas|เขตสั่งการ]]ของเปลือกสมอง และส่งข้อมูลกลับไปสู่เขตทั้งสองนั้น นิวคลีไอฐานทำกิจเกี่ยวข้องกับการสั่งการ (คือการควบคุมการเคลื่อนไหว) เป็นเขตที่อยู่ข้าง ๆ [[ทาลามัส]] และบ่อยครั้งเรียกว่า [[basal ganglia|ปมประสาทฐาน]] (basal ganglia) ถึงแม้ว่า ในปัจจุบัน คำว่า ปมประสาท (ganglion) จะใช้กับกลุ่มเซลล์ประสาทที่อยู่นอก[[ระบบประสาทกลาง]]
 
นักประสาทกายวิภาคไม่สามารถตกลงกันได้ว่า มีศูนย์กลางในสมองทั้งหมดกี่แห่งกันแน่ที่เป็นส่วนของนิวคลีไอฐาน แต่ตกลงกันว่าอย่างน้อย ๆ มีสามเขต คือ [[caudate nucleus|นิวเคลียสมีหาง]] (caudate nucleus) [[putamen]] และ [[globus pallidus]] ตัว putamen และ globus pallidus รวมกันเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า [[lentiform nucleus|นิวเคลียสรูปเลนส์]] (lentiform nucleus) เพราะว่าเขตเหล่านั้นรวมกันมีรูปร่างเหมือนเลนส์ และตัว putamen และนิวเคลียสมีหางเองก็รวมกันเรียกว่า [[corpus striatum]] เพราะปรากฏเป็นรอยริ้ว<ref>Saladin, Kenneth. Anatomy and Physiology: The Unity of Form and Function, 5th Ed. New York: McGraw-Hill Companies Inc, 2010. Print.</ref><ref>Dorland’s Medical Dictionary for Health Consumers, 2008.</ref>
 
===เขตสัมพันธ์=== <!--กรุณาอย่าเปลี่ยน มีลิงก์มาจากที่อื่น-->
'''เขตสัมพันธ์''' หรือ '''เขตประสาทสัมพันธ์''' หรือ '''คอร์เทกซ์สัมพันธ์''' ({{lang-en|association areas}}, {{lang-en|association cortex}}) ทำหน้าที่เป็นที่กำเนิดของประสบการณ์[[perception|การรับรู้]] ที่ทำความหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมให้ปรากฏ (คือทำให้เราเข้าใจสิ่งแวดล้อม) ที่ทำให้เราสามารถตอบสนองกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนให้เกิดความคิดทาง[[นามธรรม]] และการใช้ภาษา ส่วนของเขตสัมพันธ์ คือ [[สมองกลีบข้าง]] [[สมองกลีบขมับ]] และ[[occipital lobe|สมองกลีบท้ายทอย]] ซึ่งล้วนแต่อยู่ด้านหลังของคอร์เทกซ์ ทำหน้าที่จัดระเบียบข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึก เช่นการเห็นเป็นต้น ให้เป็น[[model|แบบจำลอง]]เพื่อการรับรู้สิ่งแวดล้อมที่เข้ากัน (คล้องจองกัน ปะติดปะต่อกัน) โดยมีตัวเราเองเป็นศูนย์กลาง
 
[[สมองกลีบหน้า]] มีบทบาทในการวางแผนพฤติกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และในความคิดทางนามธรรม ในอดีต ได้มีทฤษฎีว่า สมรรถภาพเกี่ยวกับภาษานั้นอยู่ในสมองซีกซ้าย กล่าวโดยเฉพาะคือ ใน[[เขตบร็อดแมนน์]] 44/45 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า [[Broca's area|เขตโบรคา]] ในด้านการแสดงออก (เช่นคำพูดและการเขียน), และในเขตบร็อดแมนน์ 22 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า [[Wernicke's area|เขตเวอร์นิก]] ในด้านการรับรู้ (เช่นการฟังและการอ่าน) แต่ปรากฏว่า สมรรถภาพเกี่ยวกับภาษากลับไม่จำกัดอยู่ในเพียงแค่เขตเหล่านั้นเท่านั้น งานวิจัยเร็ว ๆ นี้เสนอว่า กระบวนการแสดงออกและการรับรู้ของภาษา เกิดขึ้นในเขตอื่นนอกเหนือจากเขตรอบ[[ร่องด้านข้าง]]เหล่านั้น เช่น ใน[[คอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า]] [[basal ganglia|ปมประสาทฐาน]] [[ซีรีเบลลัม]] [[พอนส์]] [[caudate nucleus|นิวเคลียสมีหาง]] (caudate nucleus) และเขตอื่น ๆ
 
เขตสัมพันธ์รวบรวมข้อมูลจากตัวรับความรู้สึกหรือเขตความรู้สึกต่าง ๆ แล้วสัมพันธ์ข้อมูลที่รับมานั้น กับประสบการณ์ในอดีต ต่อจากนั้น สมองก็จะทำการตัดสินใจและส่ง[[ศักยะงาน]]ไปยังเขตสั่งการเพื่อทำการตอบสนองต่อข้อมูลที่ได้รับนั้น<ref>{{Cite journal
| author = Cathy J. Price
| title = The anatomy of language: contributions from functional neuroimaging
| journal = Journal of Anatomy
| volume = 197
| issue = 3
| pages = 335–359
| year = 2000
| doi = 10.1046/j.1469-7580.2000.19730335.x
}}</ref>
[[ไฟล์:Lateral surface of cerebral cortex - gyri.png|thumb|ผิวด้านข้าง (Lateral surface) ของเปลือกสมองในมนุษย์|300 px|right]]
[[ไฟล์:Medial surface of cerebral cortex - entorhinal cortex.png|thumb|ผิวด้านใน (Medial surface) ของเปลือกสมองในมนุษย์|300 px|right]]
 
== การจำแนกประเภท ==