ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 10322627 โดย Just Sayori (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 69:
 
== ลักษณะ ==
สัตว์มีลักษณะหลายประการที่จำแนกชัดเจนจากสิ่งมีชีวิตอื่น สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิต[[ยูแคริโอต]]และหลายเซลล์<ref name="Avila1995">{{cite book |author=Avila, Vernon L. |title=Biology: Investigating Life on Earth |url=https://books.google.com/books?id=B_OOazzGefEC&pg=PA767 |year=1995 |publisher=Jones & Bartlett Learning |isbn=978-0-86720-942-6 |pages=767–}}</ref><ref name="palaeos">{{cite web |title=Palaeos:Metazoa |url=http://palaeos.com/metazoa/metazoa.html |website=Palaeos |accessdate=25 February 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180228005641/http://palaeos.com/metazoa/metazoa.html |archive-date=28 February 2018 |url-status=live }}</ref> ต่างจาก[[แบคทีเรีย]]ที่เป็น[[โพรแคริโอต]] ต่างจาก[[โพรทิสตา]]ที่เป็นยูแคริโอตแต่[[สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว|เป็นเซลล์เดียว]] และต่างจาก[[พืช]]และ[[สาหร่าย]]ที่[[ออโตทรอพ|สามารถสร้างอาหารได้เอง]]<ref name=AnimalCells>{{cite web |last=Davidson |first=Michael W. |title=Animal Cell Structure |url=http://micro.magnet.fsu.edu/cells/animalcell.html |accessdate=20 September 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070920235924/http://micro.magnet.fsu.edu/cells/animalcell.html |archivedate=20 September 2007 |url-status=live}}</ref> แต่สัตว์นั้นเป็น[[เฮเทโรทรอพ]]<ref name="palaeos"/><ref name=Windows>{{cite web |last=Bergman |first=Jennifer |title=Heterotrophs |url=http://www.windows.ucar.edu/tour/link=/earth/Life/heterotrophs.html&edu=high |accessdate=30 September 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070829051950/http://www.windows.ucar.edu/tour/link%3D/earth/Life/heterotrophs.html%26edu%3Dhigh |archivedate=29 August 2007 |url-status=dead}}</ref> กล่าวคือต้องรับอาหารจากแหล่งอื่นมาย่อยสลายภายใน<ref>{{cite journal |last1=Douglas |first1=Angela E. |last2=Raven |first2=John A. |title=Genomes at the interface between bacteria and organelles |journal=Philosophical Transactions of the Royal Society B |volume=358 |issue=1429 |pages=5–17 |date=January 2003 |pmid=12594915 |pmc=1693093 |doi=10.1098/rstb.2002.1188}}</ref> สัตว์เกือบทั้งหมด[[การหายใจระดับเซลล์|หายใจด้วยออกซิเจน]]<ref name="oxygen">{{cite journal |last1=Mentel |first1=Marek |last2=Martin |first2=William |title=Anaerobic animals from an ancient, anoxic ecological niche |journal=BMC Biology |volume=8 |pages=32 |year=2010 |doi=10.1186/1741-7007-8-32 |pmid=20370917 |pmc=2859860}}</ref> สัตว์ทั้งหมด[[การเคลื่อนไหวเอง|เคลื่อนไหวได้เอง]]<ref name=Concepts>{{cite web |url=http://employees.csbsju.edu/SSAUPE/biol116/Zoology/digestion.htm |last=Saupe |first=S.G. |title=Concepts of Biology |accessdate=30 September 2007 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071121084100/http://employees.csbsju.edu/SSAUPE/biol116/Zoology/digestion.htm |archive-date=21 November 2007 |url-status=live }}</ref> (สามารถขยับร่างกายได้โดยธรรมชาติ) อย่างน้อยในช่วงหนึ่งของ[[วัฎจักรชีวิต]] แต่ในสัตว์บางชนิด ได้แก่ [[ฟองน้ำ]] [[ปะการัง]] [[หอยแมลงภู่]] และ[[เพรียง]] มักจะ[[การเกาะอยู่กับที่|เกาะอยู่กับที่]]ในช่วงหลังของชีวิต บลาสตูลาเป็นระยะหนึ่งในช่วง[[การเกิดเอ็มบริโอ]]ที่เป็นเอกลักษณ์ของสัตว์ส่วนใหญ่<ref>{{cite book |last=Minkoff |first=Eli C. |title=Barron's EZ-101 Study Keys Series: Biology |year=2008 |publisher=Barron's Educational Series |isbn=978-0-7641-3920-8 |edition=2nd, revised |page=48}}</ref> อันเป็นกระบวนการที่[[การเปลี่ยนสภาพของเซลล์|ทำให้เซลล์สามารถเปลี่ยนสภาพ]]ไปเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ได้
 
=== โครงสร้าง ===
สัตว์ทั้งหมดประกอบขึ้นจากเซลล์ที่ล้อมไปด้วย[[สารเคลือบเซลล์]]ต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นจาก[[คอลลาเจน]]และ[[ไกลโคโปรตีน]]ที่ยืดหยุ่น<ref>{{cite book |last1=Alberts |first1=Bruce |last2=Johnson |first2=Alexander |last3=Lewis |first3=Julian |last4=Raff |first4=Martin |last5=Roberts |first5=Keith |last6=Walter |first6=Peter |title=Molecular Biology of the Cell |edition=4th |year=2002 |publisher=Garland Science |url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK26810/ |isbn=978-0-8153-3218-3 |access-date=29 August 2017 |archive-url=https://web.archive.org/web/20161223074013/https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK26810/ |archive-date=23 December 2016 |url-status=live }}</ref> ระหว่างการเจริญเติบโต สารเคลือบเซลล์ของสัตว์ก่อตัวเป็นโครงร่างที่ค่อนข้างยืดหยุ่น เซลล์สามารถขยับและจัดเรียงตัวเองใหม่ได้ ทำให้โครงสร้างที่ซับซ้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ โครงร่างนี้สามารถแข็งตัวขึ้นและกลายเป็นโครงร่าง[[โครงกระดูกภายนอก|เปลือก]] [[กระดูก]] หรือ [[ขวากฟองน้ำ|ขวาก]]<ref>{{cite book |last=Sangwal |first=Keshra |title=Additives and crystallization processes: from fundamentals to applications |year=2007 |publisher=John Wiley and Sons |isbn=978-0-470-06153-4 |page=212}}</ref> ในทางกลับกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์อื่น (สาหร่าย พืช และเห็ดราเป็นหลัก) จะยึดอยู่กับที่ด้วย[[ผนังเซลล์]] และพัฒนาขึ้นระหว่างการเจริญเติบโตเรื่อย ๆ<ref>{{cite book |last=Becker |first=Wayne M. |title=The world of the cell |year=1991 |publisher=Benjamin/Cummings |isbn=978-0-8053-0870-9 |url=https://archive.org/details/worldofcell00beck_0 }}</ref> เซลล์สัตว์มีรอยต่อระหว่างเซลล์ที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ [[ไทต์ จังก์ชัน]] [[แกบจังก์ชัน]] และ[[เดสโมโซม]]<ref>{{cite book |last=Magloire |first=Kim |title=Cracking the AP Biology Exam, 2004–2005 Edition |year=2004 |publisher=The Princeton Review |isbn=978-0-375-76393-9 |page=[https://archive.org/details/crackingapbiolog00magl/page/45 45] |url=https://archive.org/details/crackingapbiolog00magl/page/45 }}</ref>
 
ร่างกายของสัตว์ส่วนมาก ยกเว้น[[ฟองน้ำ]]และ[[พลาโคซัว]] แยกออกเป็นเนื้อเยื่อต่าง ๆ <ref>{{cite book |url=https://books.google.com/?id=EXNFwB-O-WUC&pg=PA362 |title=Biology: Concepts and Applications without Physiology |last=Starr |first=Cecie |date=2007-09-25 |publisher=Cengage Learning |isbn=978-0-495-38150-1 |pages=362, 365}}</ref> รวมถึงกล้ามเนื้อที่ทำให้เคลื่อนไหวได้ และ[[เนื้อเยื่อประสาท]]ที่ถ่ายทอดสัญญาณและควบคุมร่างกาย โดยปกตินั้นจะมีห้องย่อยอาหารภายใน ไม่ว่าจะมีทางเข้าเดียว (อย่างในทีโนโฟรา ไนดาเรีย และหนอนตัวแบน) หรือสองทางเข้า (อย่างในไบลาทีเรียส่วนใหญ่)<ref>{{cite book |last1=Hillmer |first1=Gero |last2=Lehmann |first2=Ulrich |others=Translated by J. Lettau |title=Fossil Invertebrates |year=1983 |publisher=CUP Archive |isbn=978-0-521-27028-1 |page=54 |url=https://books.google.com/books?id=9jE4AAAAIAAJ&lpg=PP1&pg=PA54 |access-date=8 January 2016 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160507122250/https://books.google.com/books?id=9jE4AAAAIAAJ&lpg=PP1&pg=PA54 |archive-date=7 May 2016 |url-status=live }}</ref>
 
=== การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ===
สัตว์เกือบทั้งหมดสืบพันธุ์โดยอาศัยเพศ<ref>{{cite book |last=Knobil |first=Ernst |title=Encyclopedia of reproduction, Volume 1 |year=1998 |publisher=Academic Press |isbn=978-0-12-227020-8 |page=[https://archive.org/details/encyclopediaofre0000unse_f1r2/page/315 315] |url=https://archive.org/details/encyclopediaofre0000unse_f1r2/page/315 }}</ref> สัตว์เหล่านี้จะสร้าง[[เซลล์สืบพันธุ์]][[พล็อยดี|แฮพล็อยด์]]สองชนิดจาก[[ไมโอซิส]] อันได้แก่[[สเพอร์แมโทซูน]] เซลล์สืบพันธุ์ขนาดเล็กที่เคลื่อนไหวเองได้ และ[[เซลล์ไข่]]ที่มีขนาดใหญ่กว่าและเคลื่อนไหวเองไม่ได้<ref>{{cite book |last=Schwartz |first=Jill |title=Master the GED 2011 |year=2010 |publisher=Peterson's |isbn=978-0-7689-2885-3 |page=[https://archive.org/details/petersonsmasterg0000stew_x3f1/page/371 371] |url=https://archive.org/details/petersonsmasterg0000stew_x3f1/page/371 }}</ref> สองเซลล์นี้จะรวมตัวกันเป็น[[ไซโกต]]<ref>{{cite book |last=Hamilton |first=Matthew B. |title=Population genetics |year=2009 |publisher=Wiley-Blackwell |isbn=978-1-4051-3277-0 |page=55}}</ref> ที่เจริญเติบโตขึ้นด้วยไมโอซิสอยู่ภายในทรงกลมกลวง เรียกว่า บลาสตูลา ในฟองน้ำ ตัวอ่อนบลาสตูลาจะว่ายน้ำไปสู่ตำแหน่งใหม่ ยึดติดกับก้นทะเล และเจริญเติบโตกลายเป็นฟองน้ำตัวใหม่<ref>{{cite book |last1=Ville |first1=Claude Alvin |last2=Walker |first2=Warren Franklin |last3=Barnes |first3=Robert D. |title=General zoology |year=1984 |publisher=Saunders College Pub |isbn=978-0-03-062451-3 |page=467}}</ref> ในสัตว์กลุ่มอื่น ๆ ส่วนใหญ่ บลาสตูลาจะเข้าสู่การจัดเรียงใหม่ที่ซับซ้อนมากขึ้น<ref>{{cite book |last1=Hamilton |first1=William James |last2=Boyd |first2=James Dixon |last3=Mossman |first3=Harland Winfield |title=Human embryology: (prenatal development of form and function) |year=1945 |publisher=Williams & Wilkins |page=330}}</ref> เริ่มแรกมันจะ[[Invagination|บุ๋มลงไป]] เกิดเป็น[[Gastrulation|แกสตรูลา]]ที่มีห้องย่อยอาหารและ[[เนื้อเยื่อคัพภะ]]สองชั้น ได้แก่ [[เอ็กโทเดิร์ม]]อยู่ด้านนอก และ[[เอนโดเดิร์ม]]อยู่ด้านใน<ref>{{cite book |last=Philips |first=Joy B. |title=Development of vertebrate anatomy |year=1975 |publisher=Mosby |isbn=978-0-8016-3927-2 |page=[https://archive.org/details/developmentofver0000phil/page/176 176] |url=https://archive.org/details/developmentofver0000phil/page/176 }}</ref> ในกรณีส่วนใหญ่นั้น ชั้นที่สามที่เรียกว่า [[เมโซเดิร์ม]] จะเจริญขึ้นระหว่างสองชั้นนั้น<ref>{{cite book |title=The Encyclopedia Americana: a library of universal knowledge, Volume 10 |year=1918 |publisher=Encyclopedia Americana Corp. |page=281}}</ref> เนื้อเยื่อคัพภะเหล่านี้ภายหลังจะเปลี่ยนสภาพไปเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ<ref>{{cite book |last1=Romoser |first1=William S. |author-link1=William S. Romoser|last2=Stoffolano |first2=J.G. |title=The science of entomology |year=1998 |publisher=WCB McGraw-Hill |isbn=978-0-697-22848-2 |page=156}}</ref>
[[ไฟล์:Odonata copulation.jpg|thumb|left|[[การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ]]เกือบจะปรากฏในสัตว์ทุกชนิด ดังเช่นใน[[แมลงปอ]]เหล่านี้]]
สัตว์เกือบทั้งหมดสืบพันธุ์โดยอาศัยเพศ<ref>{{cite book |last=Knobil |first=Ernst |title=Encyclopedia of reproduction, Volume 1 |year=1998 |publisher=Academic Press |isbn=978-0-12-227020-8 |page=[https://archive.org/details/encyclopediaofre0000unse_f1r2/page/315 315] |url=https://archive.org/details/encyclopediaofre0000unse_f1r2/page/315 }}</ref> สัตว์เหล่านี้จะสร้าง[[เซลล์สืบพันธุ์]][[พล็อยดี|แฮพล็อยด์]]สองชนิดจาก[[ไมโอซิส]] อันได้แก่[[สเพอร์แมโทซูน]] เซลล์สืบพันธุ์ขนาดเล็กที่เคลื่อนไหวเองได้ และ[[เซลล์ไข่]]ที่มีขนาดใหญ่กว่าและเคลื่อนไหวเองไม่ได้<ref>{{cite book |last=Schwartz |first=Jill |title=Master the GED 2011 |year=2010 |publisher=Peterson's |isbn=978-0-7689-2885-3 |page=[https://archive.org/details/petersonsmasterg0000stew_x3f1/page/371 371] |url=https://archive.org/details/petersonsmasterg0000stew_x3f1/page/371 }}</ref> สองเซลล์นี้จะรวมตัวกันเป็น[[ไซโกต]]<ref>{{cite book |last=Hamilton |first=Matthew B. |title=Population genetics |year=2009 |publisher=Wiley-Blackwell |isbn=978-1-4051-3277-0 |page=55}}</ref> ที่เจริญเติบโตขึ้นด้วยไมโอซิสอยู่ภายในทรงกลมกลวง เรียกว่า บลาสตูลา ในฟองน้ำ ตัวอ่อนบลาสตูลาจะว่ายน้ำไปสู่ตำแหน่งใหม่ ยึดติดกับก้นทะเล และเจริญเติบโตกลายเป็นฟองน้ำตัวใหม่<ref>{{cite book |last1=Ville |first1=Claude Alvin |last2=Walker |first2=Warren Franklin |last3=Barnes |first3=Robert D. |title=General zoology |year=1984 |publisher=Saunders College Pub |isbn=978-0-03-062451-3 |page=467}}</ref> ในสัตว์กลุ่มอื่น ๆ ส่วนใหญ่ บลาสตูลาจะเข้าสู่การจัดเรียงใหม่ที่ซับซ้อนมากขึ้น<ref>{{cite book |last1=Hamilton |first1=William James |last2=Boyd |first2=James Dixon |last3=Mossman |first3=Harland Winfield |title=Human embryology: (prenatal development of form and function) |year=1945 |publisher=Williams & Wilkins |page=330}}</ref> เริ่มแรกมันจะ[[Invagination|บุ๋มลงไป]] เกิดเป็น[[Gastrulation|แกสตรูลา]]ที่มีห้องย่อยอาหารและ[[เนื้อเยื่อคัพภะ]]สองชั้น ได้แก่ [[เอ็กโทเดิร์ม]]อยู่ด้านนอก และ[[เอนโดเดิร์ม]]อยู่ด้านใน<ref>{{cite book |last=Philips |first=Joy B. |title=Development of vertebrate anatomy |year=1975 |publisher=Mosby |isbn=978-0-8016-3927-2 |page=[https://archive.org/details/developmentofver0000phil/page/176 176] |url=https://archive.org/details/developmentofver0000phil/page/176 }}</ref> ในกรณีส่วนใหญ่นั้น ชั้นที่สามที่เรียกว่า [[เมโซเดิร์ม]] จะเจริญขึ้นระหว่างสองชั้นนั้น<ref>{{cite book |title=The Encyclopedia Americana: a library of universal knowledge, Volume 10 |year=1918 |publisher=Encyclopedia Americana Corp. |page=281}}</ref> เนื้อเยื่อคัพภะเหล่านี้ภายหลังจะเปลี่ยนสภาพไปเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ<ref>{{cite book |last1=Romoser |first1=William S. |author-link1=William S. Romoser|last2=Stoffolano |first2=J.G. |title=The science of entomology |year=1998 |publisher=WCB McGraw-Hill |isbn=978-0-697-22848-2 |page=156}}</ref>
 
กรณีซ้ำ ๆ ของ[[การผสมพันธุ์แบบเลือดชิด|การผสมพันธุ์โดยอาศัยเพศระหว่างสายเลือดเดียวกัน]]โดยปกติจะนำไปสู่[[ความเสื่อมโทรมทางสายเลือด]]ภายในกลุ่มประชากร เนื่องจากความชุกที่เพิ่มขึ้นของ[[ความเด่น (พันธุกรรม)|ลักษณะด้อย]]อันตราย<ref name="pmid19834483">{{cite journal |last1=Charlesworth |first1=D. |last2=Willis |first2=J.H. |title=The genetics of inbreeding depression |journal=Nat. Rev. Genet. |volume=10 |issue=11 |pages=783–796 |year=2009 |pmid=19834483 |doi=10.1038/nrg2664}}</ref><ref name="pmid3324702">{{Cite book |last1=Bernstein |first=H. |last2=Hopf |first2=F.A. |last3=Michod |first3=R.E. |title=The molecular basis of the evolution of sex |journal=Adv. Genet. |volume=24 |pages=323–370 |year=1987 |pmid=3324702 |doi=10.1016/s0065-2660(08)60012-7 |series=Advances in Genetics |isbn=978-0-12-017624-3}}</ref> สัตว์ได้วิวัฒนาการกลไกจำนวนมากเพื่อ[[การหลีกเลี่ยงการผสมพันธุ์แบบเลือดชิด|หลีกเลี่ยงการผสมพันธุ์ระหว่างสายเลือดที่ใกล้ชิดกัน]]<ref name=Pusey>{{cite journal |last1=Pusey |first1=Anne |last2=Wolf |first2=Marisa |title=Inbreeding avoidance in animals |journal=Trends Ecol. Evol. |volume=11 |issue=5 |pages=201–206 |year=1996 |pmid=21237809 |doi=10.1016/0169-5347(96)10028-8}}</ref> ในบางสปีชีส์ เช่น ''[[Malurus splendens]]'' ตัวเมียจะผสมพันธุ์กับตัวผู้หลายตัว ทำให้เกิดรุ่นลูกที่มีคุณภาพทางพันธุกรรมมากขึ้น<ref name="Petrie">{{cite journal |last1=Petrie |first1=M. |last2=Kempenaers |first2=B. |year=1998 |title=Extra-pair paternity in birds: Explaining variation between species and populations |url= |journal=Trends in Ecology and Evolution |volume=13 |issue=2 |pages=52–57 |doi=10.1016/s0169-5347(97)01232-9 |pmid=21238200}}</ref>
 
สัตว์บางชนิดสามารถ[[การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ|สืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ]] ซึ่งมักก่อให้เกิดการโคลนของพันธุกรรมรุ่นพ่อแม่ การสืบพันธุ์ในลักษณะนี้อาจเกิดได้จาก[[การขาดออกเป็นท่อน]] [[การแตกหน่อ]]ดังเช่นใน[[ไฮดรา (สกุล)|ไฮดรา]]และ[[ไนดาเรีย]]อื่น ๆ หรือ[[การเกิดโดยไม่ผสมพันธุ์|ไม่ผสมพันธุ์เลย]]โดยไข่ซึ่งเจริญพันธุ์แล้วไม่ได้ผ่านการผสมพันธุ์ดังเช่นใน[[เพลี้ยอ่อน]]<ref>{{cite book |last1=Adiyodi |first1=K.G. |last2=Hughes |first2=Roger N. |last3=Adiyodi |first3=Rita G. |title=Reproductive Biology of Invertebrates, Volume 11, Progress in Asexual Reproduction |date=July 2002 |publisher=Wiley |page=116 |isbn=978-0-471-48968-9}}</ref><ref>{{cite web |last1=Schatz |first1=Phil |title=Concepts of Biology {{!}} How Animals Reproduce |url=http://philschatz.com/biology-concepts-book/contents/m45547.html |publisher=OpenStax College |accessdate=5 March 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180306022745/http://philschatz.com/biology-concepts-book/contents/m45547.html |archive-date=6 March 2018 |url-status=live }}</ref>{{-}}
 
สัตว์บางชนิดสามารถ ซึ่งมักก่อให้เกิดการโคลนของพันธุกรรมรุ่นพ่อแม่ การสืบพันธุ์ในลักษณะนี้อาจเกิดได้จากการขาดออกเป็นท่อน ดังเช่นในและอื่น ๆ หรือโดยไข่ซึ่งเจริญพันธุ์แล้วไม่ได้ผ่านการผสมพันธุ์ดังเช่นใน
== สายวิวัฒนาการ ==
{{ข้อมูลเพิ่มเติม|รายชื่อสัตว์}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สัตว์"