ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทินจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 10384861 สร้างโดย 49.228.167.82 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 14:
 
== แผนภูมิสวรรค์-พิภพ ==
ในปฏิทินจีน มักมีการกำหนดให้วัน เดือน ปี หรือแม้แต่ยุคประกอบไปด้วยอักษรจีนประจำ ซึ่งอักษรนั้นเป็นส่วนหนึ่งของแผนภูมิสวรรค์-พิภพ อักษรประจำสวรรค์มีทั้งหมด 10 ตัว ส่วนอักษรประจำพิภพ มีทั้งหมด 12 ตัว ดังแสดงในตาแกษรในแผนภูมิสวรรค์มี 10 ตัว โดย 2 ตัวประจำอผนภูมิพอักษรในแผนภูมิพิภพมี 12 ตัว แต่ละตัวปนักษัตร อนึ่ง ในช่องปีนักษัตรจีน อักษรจีนที่แสดงในวงเล็บ คือ อักษรจีนตัวย่อ ส่วนนอกวงเล็บเอักษรจีนตัวเต็มอักษรภาคสวรรค์และพิภพสามารถนำมาจับคู่กซึ่งมีคู่ที่เป็นไปได้ทั้งหมดคู่ด้วยกัน ได้แกสังเกตวา เมื่อนำอักษรภาคสวรรค์และพิภพมกัน จะได้เป็นอักษคู่ซึ่งแสดงปนักษัตรและธาตุได้ ในปี พ.ศ. 2543 มีอักษรประจำปีเป็น 庚辰 อันมีความหมายเป็น 金龍 หรืงกทอง ส่ว. 2553 หรือ 10 ปีให้หลว่าระจำปีเป็น 庚寅 ซึ่งมีความหมายว่าเสือทอง (金นอกเหนือจากการใช้อักษรภาคสวรรค์และพิภพบ่งบอกปีแล้ว ยังสามารถนำอักษรเหล่านี้ไประอีกด้วย
{{บทความหลัก|แผนภูมิสวรรค์}}
ในปฏิทินจีน มักมีการกำหนดให้วัน เดือน ปี หรือแม้แต่ยุคประกอบไปด้วยอักษรจีนประจำ ซึ่งอักษรนั้นเป็นส่วนหนึ่งของแผนภูมิสวรรค์-พิภพ อักษรประจำสวรรค์มีทั้งหมด 10 ตัว ส่วนอักษรประจำพิภพ มีทั้งหมด 12 ตัว ดังแสดงในตาราง<ref name="ตั้งกวงจือ 2549">ตั้งกวงจือ. '''ตำราเรียนหัวใจฮวงจุ้ย'''. กรุงเทพฯ:ฮวงจุ้ยกับชีวิต, 2549</ref>
 
=== แผนภูมิสวรรค์ ===
อักษรในแผนภูมิสวรรค์มี 10 ตัว โดย 2 ตัว จะมีธาตุหนึ่งประจำอยู่ ดังนี้
{| class="wikitable" cellspacing="10px" align="center"
| '''อักษรภาคสวรรค์'''
|align="center"| 甲
|align="center"| 乙
|align="center"| 丙
|align="center"| 丁
|align="center"| 戊
|align="center"| 己
|align="center"| 庚
|align="center"| 辛
|align="center"| 壬
|align="center"| 癸
|-
| rowspan="2" | '''คำอ่าน'''
|align="center"| เจี่ย (jiǎ)
|align="center"| อี่ (yǐ)
|align="center"| ปิ่ง (bǐng)
|align="center"| ติง (dīng)
|align="center"| อู้ (wù)
|align="center"| จี่ (jǐ)
|align="center"| เกิง (gēng)
|align="center"| ซิน (xīn)
|align="center"| เหริน (rén)
|align="center"| กุ่ย (guǐ)
|-
|กะ
|อิก
|เปี้ย
|เต็ง
|โบ่ว
|กี้
|แก
|ซิง
|ยิ้ม
|กุ่ย
|-
| '''ธาตุประจำ'''
| align="center" colspan = 2| ไม้ (木)
| align="center" colspan = 2| ไฟ (火)
| align="center" colspan = 2| ดิน (土)
| align="center" colspan = 2| ทอง (金)
| align="center" colspan = 2 | น้ำ (水)
|}
 
=== แผนภูมิพิภพ ===
อักษรในแผนภูมิพิภพมี 12 ตัว แต่ละตัวแทนปีนักษัตร อนึ่ง ในช่องปีนักษัตรจีน อักษรจีนที่แสดงในวงเล็บ คือ อักษรจีนตัวย่อ ส่วนนอกวงเล็บเป็นอักษรจีนตัวเต็ม
{| class="wikitable" cellspacing="10px" align="center"
| '''อักษรภาคพิภพ'''
|align="center"| 子
|align="center"| 丑
|align="center"| 寅
|align="center"| 卯
|align="center"| 辰
|align="center"| 巳
|align="center"| 午
|align="center"| 未
|align="center"| 申
|align="center"| 酉
|align="center"| 戌
|align="center"| 亥
|-
| rowspan="2" | '''คำอ่าน'''
|align="center"| จื่อ (zǐ)
|align="center"| โฉ่ว (chǒu)
|align="center"| อิ๋น (yín)
|align="center"| หม่าว (mǎo)
|align="center"| เฉิน (chén)
|align="center"| ซื่อ (sì)
|align="center"| อู่ (wǔ)
|align="center"| เว่ย (wèi)
|align="center"| เซิน (shēn)
|align="center"| โหย่ว (yǒu)
|align="center"| ซวี (xū)
|align="center"| ฮ่าย (hài)
|-
|จื้อ
|ทิ่ว
|เอี้ยง
|เบ้า
|ซิ้ง
|จี๋
|โง่ว
|บี่
|ซิม
|อิ้ว
|สุก
|ไห
|-
| '''ปีนักษัตรจีน'''
|align="center"| 鼠
|align="center"| 牛
|align="center"| 虎
|align="center"| 兔
|align="center"| 龍 (龙)
|align="center"| 蛇
|align="center"| 馬 (马)
|align="center"| 羊
|align="center"| 猴
|align="center"| 鷄 (鸡)
|align="center"| 狗
|align="center"| 猪
|-
| '''คำอ่าน'''
|align="center"| สู่ (shǔ)
|align="center"| หนิว (niú)
|align="center"| หู่ (hǔ)
|align="center"| ทู่ (tù)
|align="center"| หลง (lóng)
|align="center"| เสอ (shé)
|align="center"| หม่า (mǎ)
|align="center"| หยาง (yáng)
|align="center"| โห (hóu)
|align="center"| จี (jī)
|align="center"| โก่ว (gǒu)
|align="center"| จู (zhū)
|-
| '''ปีนักษัตรไทย'''
|align="center"| ชวด
|align="center"| ฉลู
|align="center"| ขาล
|align="center"| เถาะ
|align="center"| มะโรง
|align="center"| มะเส็ง
|align="center"| มะเมีย
|align="center"| มะแม
|align="center"| วอก
|align="center"| ระกา
|align="center"| จอ
|align="center"| กุน
|}
 
อักษรภาคสวรรค์และพิภพสามารถนำมาจับคู่กัน ซึ่งมีคู่ที่เป็นไปได้ทั้งหมด 60 คู่ด้วยกัน ได้แก่<ref>โปรดดูเพิ่มเติมที่ [http://www.sinica.edu.tw/~tdbproj/sinocal/luso.html]</ref>
{| class="wikitable"
|-
! ลำดับที่ !! อักษรคู่ !! นามปี !! ลำดับที่ !! อักษรคู่ !! นามปี !! ลำดับที่ !! อักษรคู่ !! นามปี
|-
| 1 || 甲子 || หนูไม้ (木鼠) || 21 || 甲申 || ลิงไม้ (木猴) || 41 || 甲辰 || มังกรไม้ (木龍)
|-
| 2 || 乙丑 || วัวไม้ (木牛) || 22 || 乙酉 || ไก่ไม้ (木鷄) || 42 || 乙巳 || งูไม้ (木蛇)
|-
| 3 || 丙寅 || เสือไฟ (火虎) || 23 || 丙戌 || สุนัขไฟ (火狗) || 43 || 丙午 || ม้าไฟ (火馬)
|-
| 4 || 丁卯 || กระต่ายไฟ (火兔) || 24 || 丁亥 || สุกรไฟ (火猪) || 44 || 丁未 || แพะไฟ (火羊)
|-
| 5 || 戊辰 || มังกรดิน (土龍) || 25 || 戊子 || หนูดิน (土鼠) || 45 || 戊申 || ลิงดิน (土猴)
|-
| 6 || 己巳 || งูดิน (土蛇) || 26 || 己丑 || วัวดิน (土牛) || 46 || 己酉 || ไก่ดิน (土鷄)
|-
| 7 || 庚午 || ม้าทอง (金馬) || 27 || 庚寅 || เสือทอง (金虎) || 47 || 庚戌 || สุนัขทอง (金狗)
|-
| 8 || 辛未 || แพะทอง (金羊) || 28 || 辛卯 || กระต่ายทอง (金兔) || 48 || 辛亥 || สุกรทอง (金猪)
|-
| 9 || 壬申 || ลิงน้ำ (水猴) || 29 || 壬辰 || มังกรน้ำ (水龍) || 49 || 壬子 || หนูน้ำ (水鼠)
|-
| 10 || 癸酉 || ไก่น้ำ (水鷄) || 30 || 癸巳 || งูน้ำ (水蛇) || 50 || 癸丑 || วัวน้ำ (水牛)
|-
| 11 || 甲戌 || สุนัขไม้ (木狗) || 31 || 甲午 || ม้าไม้ (木馬) || 51 || 甲寅 || เสือไม้ (木虎)
|-
| 12 || 乙亥 || สุกรไม้ (木猪) || 32 || 乙未 || แพะไม้ (木羊) || 52 || 乙卯 || กระต่ายไม้ (木兔)
|-
| 13 || 丙子 || หนูไฟ (火鼠) || 33 || 丙申 || ลิงไฟ (火猴) || 53 || 丙辰 || มังกรไฟ (火龍)
|-
| 14 || 丁丑 || วัวไฟ (火牛) || 34 || 丁酉 || ไก่ไฟ (火鷄) || 54 || 丁巳 || งูไฟ (火蛇)
|-
| 15 || 戊寅 || เสือดิน (土虎) || 35 || 戊戌 || สุนัขดิน (土狗) || 55 || 戊午 || ม้าดิน (土馬)
|-
| 16 || 己卯 || กระต่ายดิน (土兔) || 36 || 己亥 || สุกรดิน (土猪) || 56 || 己未 || แพะดิน (土羊)
|-
| 17 || 庚辰 || มังกรทอง (金龍) || 37 || 庚子 || หนูทอง (金鼠) || 57 || 庚申 || ลิงทอง (金猴)
|-
| 18 || 辛巳 || งูทอง (金蛇) || 38 || 辛丑 || วัวทอง (金牛) || 58 || 辛酉 || ไก่ทอง (金鷄)
|-
| 19 || 壬午 || ม้าน้ำ (水馬) || 39 || 壬寅 || เสือน้ำ (水虎) || 59 || 壬戌 || สุนัขน้ำ (水狗)
|-
| 20 || 癸未 || แพะน้ำ (水羊) || 40 || 癸卯 || กระต่ายน้ำ (水兔) || 60 || 癸亥 || สุกรน้ำ (水猪)
|-
|}
สังเกตว่า เมื่อนำอักษรภาคสวรรค์และพิภพมาจับคู่กัน จะได้เป็นอักษรคู่ซึ่งแสดงถึงปีนักษัตรและธาตุได้ ในปี พ.ศ. 2543 มีอักษรประจำปีเป็น 庚辰 อันมีความหมายเป็น 金龍 หรือมังกรทอง ส่วนปี พ.ศ. 2553 หรือ 10 ปีให้หลัง จะได้ว่าอักษรประจำปีเป็น 庚寅 ซึ่งมีความหมายว่าเสือทอง (金虎)
 
นอกเหนือจากการใช้อักษรภาคสวรรค์และพิภพบ่งบอกปีแล้ว ยังสามารถนำอักษรเหล่านี้ไประบุยุคได้อีกด้วย
 
==ปฏิทินสุริยคติจีน==