ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัศวิน ขวัญเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไขข้อมูลที่ไม่เป็นกลาง และเพิ่มเติมรายละเอียดของวิกิ
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 45:
 
จบหลักสูตรการบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 16 และหลักสูตร[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] รุ่นที่ 45<ref name=":0">[https://www.modify.in.th/16208/amp ประวัติ พล.ต.อ. อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนใหม่]</ref>
 
== แรงบันดาลใจในวัยเด็ก ==
ความเป็นเด็กในชนบทจากจังหวัดสุพรรณบุรีทำให้ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่า ฯ กทม. เรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นไปด้วยความยากลำบาก จึงพยายามเคี่ยวเข็ญอบรมสั่งสอน ร.ต.ท.พงศกร ขวัญเมือง ลูกชายจนกลายเป็นเด็กสองภาษา (ไทย-อังกฤษ)
 
พล.ต.อ.อัศวิน สัมผัสได้ว่า การสร้างแรงบันดาลใจเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ก่อนมอบหมายให้ พล.ต.ต.ปรีชา ธิมามนตรี ที่ปรึกษาผู้ว่า ฯ กทม. ทำโครงการทดลองฝึกสอนภาษาที่ไม่ใช้งบประมาณ กทม. ให้แก่เด็กชั้น ป.5 ในกลุ่มของคะแนนต่ำ ครอบครัวมีความขัดสน จากโรงเรียนสังกัด กทม. มี วัดดอน-ฉิมพลี-เสนานิคม-วัดทองเพลง-ประชาราษฎร์บำเพ็ญ โรงเรียนละ 4 คน ชาย 2 คน และหญิง 2 คน รวม 20 คนและครู 1 คน
 
ภายใต้กำกับดูแลของ นางวรรณวิไล พรหมลักขโณ รองผู้ว่า ฯ กทม. และ น.ส.ปราณี สัตยประกอบ รองปลัด กทม. ได้ครูฝึก ประกอบด้วย พ.ต.ท.สมภพ นพคุณ อดีตนักสืบนครบาล นางศศิกาญจน์ ฤทธิโรจน์ นางสุทธดา บัวศรี ใช้หลักสูตรรูปแบบ[[สหรัฐอเมริกา]] เช่นเดียวกันกับการสอนตำรวจ “นักสืบขั้นพิเศษของนครบาล” เมื่อปี 2539 คืออยากรู้ที่ไหน ไปเรียนที่นั่น ภายใต้หลักการ “เรียนในห้องออกไปก็ลืม แต่หากทำด้วยมือจะไม่ลืมจนชั่วชีวิต”
 
เน้นให้เด็กมีความกล้าแสดงออก ไม่กลัวชาวต่างชาติ หาความรู้จากสิ่งแวดล้อม เช่น ภาพยนตร์ หนังสือ การ์ตูน เกม ตลอดจนความรู้นอกโรงเรียน เปิดโอกาสให้เด็ก ใช้ความพยายามมากกว่าการสอนให้จำและหาคำตอบ สอนให้เขียนเรียงความจากความนึกคิดของตัวเอง
 
สร้าง “ภาวะผู้นำ” ด้วยการเล่าประสบการณ์แต่ละกิจกรรมให้เพื่อนในโรงเรียนและที่บ้านฟัง ถือเป็นการเรียนจากเจ้าของภาษาอังกฤษโดยตรงและยังได้เรียนรู้[[วัฒนธรรมตะวันตก]]ควบคู่ไปด้วย เน้นการพูดและฟังจนเกิดความเคยชิน พาไปสู่การเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตัวเองในอนาคต เสริมสร้างรากฐานด้านการศึกษาภาษาอังกฤษจากแนวคิด พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่า ฯ กทม. ต่อยอดแรงบันดาลใจในวัยเด็ก
 
== การรับราชการตำรวจ ==
เส้น 51 ⟶ 62:
ต่อมาใน[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 59 ของไทย|รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นาย[[สุเทพ เทือกสุบรรณ]] รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะผลักดันให้เป็นที่ปรึกษา สบ.10 ในยศ[[พลตำรวจเอก]] (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทาง[[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)|คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ]] (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้า ฯ เป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553
 
== คดีที่ทำขณะเป็นตำรวจ ==
อัศวินได้รับ[[ฉายา]]จาก[[สื่อมวลชน]]ว่า '''"อัศวินปิดจ๊อบ"''' เนื่องจากมีผลการทำงานที่ดุดัน รวดเร็ว<ref>[https://www.thairath.co.th/content/135269 ฉายา ตร.ปี 53 'อัศวิน ปิดจ๊อบ' นักข่าวตั้งให้]</ref> และยังได้รับผลโหวตจากการสำรวจความคิดเห็นจาก[[เอแบคโพล]]ด้วยว่า เป็นนายตำรวจที่เป็นตำรวจมือปราบที่ช่วยบรรเทาเหตุอาชญากรรมได้มากที่สุด ในปี 2553 ซึ่งเคยผ่านคดีสำคัญ ๆ ระดับชาติมาแล้วหลายคดี<ref>[https://mgronline.com/crime/detail/9540000002766 พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง มือปราบอันดับ 1 ของโพลล์ “ที่สุดแห่งปี 2553”]</ref> อาทิ คดีจับกุมนายนพพล ประสงค์ศิล (จิ๊บ ไผ่เขียว)<ref>{{Cite web|date=2010-12-15|title=สอบ"จิ๊บ ไผ่เขียว"ขยายผลล่าแก๊งค้ายา|url=https://www.posttoday.com/social/local/65050|website=posttoday.com|language=en}}</ref> และคดีวิสามัญฆาตกรรมนายชาญชัย ประสงค์ศิล (โจ๊ก ไผ่เขียว)<ref>[https://tnews.teenee.com/crime/59754.html อัศวินแถลงข่าวจับจิ๊บ ไผ่เขียว-ปปส.อายัดทรัพย์กว่า35ล.]</ref>, คดีจับกุมนายสมคิด พุ่มพวง<ref>[https://mgronline.com/onlinesection/detail/9620000120502 ผู้ว่าฯ กทม. ย้อนความหลัง เผยสมคิดเป็นคนพูดจาดี ทำสาวหลงกล หลังเป็นผู้นำทีมจับเมื่อ 14 ปีก่อน]</ref>, คดีจับกุมนายอนุชิต ล้ำเลิศ (ฆาตกรแหม่มชาวรัสเซีย)<ref>[https://mgronline.com/local/detail/9500000023059 แกะรอยมือฆ่า 2 แหม่มรัสเซีย]</ref> เป็นต้น
ในขณะที่เป็นตำรวจ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ก็ได้ปฏิบัติภารกิจและทำหลายคดี ซึ่งแต่ละคดีนั้นก็เป็นคดีที่สำคัญ และคดีที่กล่าวข้างต้น ได้แก่
 
• '''คดีโจ๊ก-จิ๊บ ไผ่เขียว'''<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เป็นคดีที่ในขณะนั้น พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง เป็นที่ปรึกษา (สบ.10) รักษาราชการแทน[[ผู้บัญชาการตำรวจภูธร ภาค 1]] ได้ลงมาเป็นหัวหน้าชุดสืบสวนสอบสวนคดีนี้ด้วยตนเอง โดยใช้ยุทธวิธีปูพรมค้นหาพยานหลักฐาน สืบประวัติความขัดแย้งที่อาจซ่อนอยู่เบื้องหลัง ต่อมาพบว่าปลอกกระสุนที่พบในที่เกิดเหตุตรงกับปลอกกระสุนที่แก๊งวัยรุ่นขาใหญ่ของชุมชนไผ่เขียว อำเภอ[[บางปะอิน]] จังหวัด[[พระนครศรีอยุธยา]] ที่เป็นเอเจนต์ยาเสพติดรายใหญ่ใช้ในการก่อเหตุต่าง ๆ และเมื่อรู้ตัวคนร้าย พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ก็ได้นำกำลังเข้าปิดล้อมและจับกุมในที่สุด
 
'''คดีผู้พันตึ๋ง'''<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> หรือ พ.ต.เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ นายทหารที่ถูกอ้างว่ามีการเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตของผู้ว่าราชการจังหวัด[[ยโสธร]] โดยมีปมสังหารเกี่ยวกับประเด็นขัดแย้งผลประโยชน์ของโครงการบ่อบำบัดน้ำเสียที่จังหวัดยโสธร พล.ต.อ.พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ [[ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]]ในสมัยนั้น ได้สั่งโอนคดีมาให้กองปราบปรามเป็นผู้รับผิดชอบ พล.ต.ต.อัศวิน ขวัญเมือง ที่ดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกองปราบปรามในสมัยนั้น ได้สั่งการให้ระดมหานักสืบฝีมือดีและทีมพิสูจน์หลักฐาน และทำการสืบพยานหลักฐานจนมีน้ำหนักไปทาง ผู้พันตึ๋งว่าเป็นผู้ลงมือสังหาร ต่อมาจึงได้สั่งการให้กำลังคอมมานโดกองปราบ ฯ พร้อมหมายศาลเข้าจับกุมผู้พันตึ๋งในค่ายมวยย่านเหม่งจ๋าย จากพยานหลักฐานจึงทำให้ผู้พันตึ๋งถูกศาลตัดสินให้ประหารชีวิตภายหลังรับพระราชทานอภัยโทษเหลือจำคุกตลอดชีวิต
 
'''คดีสมคิด พุ่มพวง'''<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> คดีเกี่ยวกับฆาตกรต่อเนื่องที่ได้สังหารเหยื่อที่เป็นผู้หญิงหลายราย และได้ก่อคดีหลายจังหวัด ตำรวจสอบสวนกลาง ซึ่งมี พล.ต.ต.อัศวิน ขวัญเมือง ที่ดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการสอบสวนกลางในขณะนั้นเป็นหนึ่งในทีมจับกุม ต่อมาก็ได้สืบสวนจนได้เบาะแสว่า นายสมคิด พุ่มพวง เป็นผู้ก่อเหตุและได้หลบหนีไปอยู่จังหวัด[[ชัยภูมิ]] จากนั้นได้นำกำลังเข้าไปบุกจับกุมและสอบสวนจนนายสมคิดรับสารภาพทุกข้อกล่าวหาในการกระทำความผิดต่อเหยื่อทุกราย
 
'''คดีแหม่มชาวรัสเซีย'''<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> คดีเกี่ยวกับหญิงสาว 2 คนซึ่งเป็นชาวรัสเซียถูกยิงเสียชีวิตที่หาดจอมเทียน โดย พล.ต.ท.อัศวิน ขวัญเมือง [[ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2]] ในขณะนั้น ได้นำกำลังตรวจสอบที่เกิดเหตุ สืบหาพยานหลักฐาน ติดตามร่องรอย สอบปากคำจากพยาน ซึ่งใช้เวลา 7 วันในการปิดคดี และสามารถจับกุมตัวผู้กระทำความผิดได้คือ นายอนุชิต ล้ำเลิศ ซึ่งได้มีการสอบสวนและนายอนุชิตรับสารภาพว่าลงมือทำไปเพื่อชิงทรัพย์ และยอมจำนนด้วยหลักฐานและให้การรับสารภาพในความผิด
 
== งานด้านการเมือง ==
ภายหลังเกษียณอายุราชการตำรวจ อัศวินได้รับการแต่งตั้งให้เป็น"รอง"ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ([[หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร]] เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) ดูแลงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเทศกิจ
 
วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ได้รับการแต่งตั้งจาก[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) ให้เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 16 จนถึงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2565 นับได้ว่าเขาเป็นนายตำรวจไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้<ref>[https://www.sanook.com/men/15597/ ส่องประวัติ "อัศวิน ขวัญเมือง" เจ้าของฉายา "บิ๊กวินปิดจ๊อบ"]</ref> และมีผลงานเปลี่ยนกรุงเทพ ฯ ด้วยนโยบาย "ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที" และ "NOW ทำจริง เห็นผลจริง"<ref>[https://www.aroundonline.com/bangkok-news-17/ กทม. สร้างมหานครแห่งความสุข ผู้ว่าฯ ‘อัศวิน’ คลายทุกข์ชาวกรุงผ่านนโยบาย ผลักดันทันใจแก้ไขทันที!]</ref> ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อาทิ สร้างอุโมงค์ระบายน้ำหนองบอน<ref>{{Cite web|date=2021-09-17|title=เช็คแผนก่อสร้าง "อุโมงค์ระบายน้ำ" บึงหนองบอน แก้น้ำท่วม "อ่อนนุช-สุขุมวิท"|url=https://www.bangkokbiznews.com/social/960735|website=bangkokbiznews}}</ref>, สร้างโครงข่ายถนนสายหลักแนวตะวันตก-ตะวันออก, เปิดโรงพยาบาลคลองสามวา เร่งสร้างโรงพยาบาล กทม. ทุกมุมเมือง, สร้างแก้มลิงใต้ดิน Water Bank แก้ปัญหาน้ำท่วมปากซอยสุทธิพร2 / วงเวียนบางเขน และเพิ่ม[[โทรทัศน์วงจรปิด|กล้อง CCTV]] ทั่วกรุง ฯ ติดตั้งใหม่ 20,217 ตัว เป็นต้น<ref>[https://www.innnews.co.th/news/news-general/news_264665/ ผู้ว่าฯอัศวิน โชว์ผลงาน 64 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้วในกทม.]</ref>
 
== โครงการที่ทำในฐานะผู้ว่า ฯ กทม. ==
== กระแสวิพากษ์วิจารณ์ ==
วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ได้รับการแต่งตั้งจาก[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] หรือ คสช. ให้เป็น'''ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 16''' จนถึงปัจจุบัน ซึ่งในขณะที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนั้น เขามีนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครโดยเน้นการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ควบคู่กับการพัฒนากรุงเทพ ฯ ด้วยนโยบาย '''“ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที”''' และตัวอย่างโครงการต่าง ๆ ที่เขาทำเพื่อแก้ไขและพัฒนากรุงเทพ ฯ มีดังนี้
 
• '''“การคมนาคม” เปลี่ยนไปแล้ว''' สำหรับโครงการนี้จะเป็นการเชื่อมโครงข่ายคมนาคม ล้อ ราง เรือ<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> โดยเชื่อมต่อการเดินทางจาก[[ปริมณฑล]]เข้ามายังกรุงเทพ ฯ และเชื่อมต่อการเดินทางในกรุงเทพ ฯ เพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกในการเดินทาง ทั้งการ[[ขนส่งสาธารณะ]]และ[[เส้นทางคมนาคม]]ที่สะดวกมากขึ้น ด้วยการพัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย (สายสีเขียวและสีทอง) 30 สถานี, เส้นทางเดินเรือโดยสารสาธารณะ 2 เส้นทาง ที่คลองผดุงกรุงเกษม และคลองภาษีเจริญ, โครงข่ายถนนสายหลักตามแนวฝั่งตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า) และศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์และป้ายรถเมล์อัจฉริยะ (Smart Bus Shelter) โครงการดังกล่าวทำให้ประชาชนชาวกรุงเทพ ฯ มีทางเลือกในการเดินทางมากขึ้น แต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังคงต้องเผชิญกับปัญหาความแออัดในการเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะอยู่เช่นเดิม เนื่องจากกรุงเทพ ฯ เป็นเมืองหลวงที่มีจำนวนประชากรเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งปัญหานี้ยังคงมีมาอย่างต่อเนื่อง
=== ประเด็นหากุญแจเปิดเครื่องสูบน้ำไม่เจอ ===
ปี 2561 เหตุการณ์ที่ทำให้โซเชียลมีเดียรุมถล่มอย่างกว้างขวาง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561 กรุงเทพมหานครเกิดฝนตกกระหน่ำจนเกิดน้ำท่วมขัง<ref>{{Cite web|date=2018-01-10|title=ฝนถล่มกรุง น้ำท่วมขังถนนหลายสาย การจราจรติดขัด|url=https://news.thaipbs.or.th/content/269223|website=Thai PBS}}</ref> บริเวณวงเวียนบางเขน สูงประมาณ 20 เซนติเมตร และใช้เวลาระบายน้ำร่วม 2 ชั่วโมงนั้น พล.ต.อ.อัศวิน<ref name=":0" /> กล่าวภายหลังลงพื้นที่ติดตามการแก้ไขปัญหาระบบระบายน้ำบริเวณปากซอยวิภาวดี-รังสิต 44 ว่า แม้ กทม.ดำเนินการก่อสร้างบ่อหน่วงน้ำใต้ดิน (Water Bank) เสร็จแล้ว เนื่องจากผู้รับเหมายังไม่ได้ส่งมอบงานให้ กทม. ทำให้เจ้าหน้าที่ กทม. ไม่มีกุญแจเปิดเครื่องสูบน้ำ<ref>{{Cite web|date=2018-10-03|title="หากุญแจเปิดเครื่องสูบน้ำไม่ได้" ผู้ว่าฯกทม.เผยหลังน้ำท่วมบางเขน|url=https://www.posttoday.com/social/general/566346|website=posttoday.com}}</ref> จึงสั่งการให้ผู้เกี่ยวข้องทำกุญแจสำรองไว้หลายดอก เพราะปัญหาลักษณะนี้ไม่ควรเกิดขึ้น ยอมรับเป็นความผิดของ กทม.
 
• '''“ระบบการระบายน้ำ” เปลี่ยนไปแล้ว''' โครงการที่มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาน้ำท่วมใน กทม. โดยใช้วิศวกรรมเชิงโครงสร้าง<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> มาเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำให้ดีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เพิ่มเส้นทาง การระบายน้ำที่เสมือนมีแม่น้ำอยู่ใต้ดินและช่วยเพิ่มความเร็วในการระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้มากขึ้น, การก่อสร้างท่อเร่งระบายน้ำ (Pipe Jacking)<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เพื่อช่วยเพิ่มท่อการระบายน้ำขนาดใหญ่ที่มีความสามารถในการเร่งระบายน้ำได้มากขึ้น และก่อสร้างพื้นที่รองรับน้ำเพิ่มในพื้นที่ กทม. เพื่อช่วยให้น้ำไม่ท่วมขังในพื้นที่เป็นเวลานาน โดยจัดทำ “แก้มลิง” ทั้งบนดิน และใต้ดินที่เรียกว่า '''“ธนาคารน้ำใต้ดิน” (Water Bank)'''<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> ซึ่งเป็นที่กักเก็บน้ำขนาดใหญ่ใต้ดินที่ช่วยเร่งระบายน้ำที่ท่วมขังได้เร็วขึ้น และมีการสร้างและปรับปรุงสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บ่อสูบน้ำ และเพิ่มเครื่องสูบน้ำในจุดต่าง ๆ <ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref>เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ให้ดีมากขึ้น โดยได้ก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่แล้ว 1 แห่งที่คลองบางซื่อ และกำลังก่อสร้างอีก 4 แห่ง, Pipe Jacking มีแล้ว 9 แห่ง เช่น สุขุมวิท 63 (เอกมัย), แยกเกษตรศาสตร์, ถนนสุวินทวงศ์, ถนนศรีอยุธยา, ถนนพระราม 6 กำลังก่อสร้างอีก 3 แห่ง และแก้มลิง 34 แห่ง เช่น ธนาคารใต้ดินบริเวณวงเวียนบางเขน ธนาคารน้ำใต้ดินปากซอยสุทธิพร และแก้มลิงหมู่บ้านสัมมากร  บึงร.1 พัน 2 รอ. บึงน้ำประชานิเวศน์ บึงรางเข้ บึงเสือดำ และมีแผนเดินหน้าพัฒนาแก้ไขปัญหาน้ำท่วมทั้งระบบแบบยั่งยืน<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีการแก้ไขและพัฒนาจัดการปัญหาการระบายน้ำให้ดีขึ้น แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัญหาน้ำท่วมนั้นยังคงเป็นปัญหาที่ประชาชนในกรุงเทพ ฯ ยังต้องเผชิญแทบทุกปี ประชาชนยังคงได้รับความเดือดร้อนและความเสียหายจากปัญหานี้กันอย่างต่อเนื่อง และยังคงไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ให้หายไปได้
=== ประเด็นอ้างผลงานป้ายรถเมล์ใหม่ ===
พล.ต.อ.อัศวิน<ref name=":0" /> ได้โพสต์ภาพและข้อความลงในเฟซบุ๊กเรื่องที่ กทม. ได้ทดลองนำป้ายหยุดรถเมล์รูปแบบใหม่มาทดลองใช้ โดยระบุว่า ได้รูปแบบจากแนวคิดของภาค[[ประชาสังคม]] เช่น กลุ่มเมเดย์ (Mayday)<ref name=":1">{{Cite web|date=2017-12-06|title=กลุ่มเมล์เดย์ ผู้ช่วยเหลือคนใช้รถเมล์ในเมือง|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9600000119301|website=mgronline.com}}</ref> ซึ่งในปี 2562 กทม. จะจัดสรรงบประมาณมาปรับปรุงป้ายหยุดรถเมล์เป็นรูปแบบใหม่ จำนวน 500 ป้าย <ref name=":2">{{Cite web|last=59|date=2019-03-11|title=ดราม่าสนั่น ชาวเน็ตโวย ผู้ว่าฯ กทม. เคลมผลงานป้ายรถเมล์ใหม่ ทั้งที่ไม่เคยช่วย|url=https://www.khaosod.co.th/monitor-news/news_2297825|website=ข่าวสด}}</ref>
 
• '''“สาธารณสุข” เปลี่ยนไปแล้ว''' โครงการนี้สร้างขึ้นเพื่อขยายศักยภาพการให้บริการทั้งโรงพยาบาลในสังกัด กทม. และ[[ศูนย์บริการสาธารณสุข]] เพื่อให้ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของประชาชน และให้ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบการบริการในทุกพื้นที่เขตให้มากที่สุด โดยก่อสร้างอาคาร ขยายเตียง และเปิดศูนย์การรักษาเฉพาะทาง และพัฒนาระบบการบริการออนไลน์เพิ่มความสะดวกในการเข้ารับบริการ และโรงพยาบาลที่อยู่ในโครงการนี้ ได้แก่
ต่อมามีผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง ได้ระบุว่า เป็นตัวแทนของทีมเมเดย์ ออกมาตอบโต้ว่า พล.ต.อ.อัศวิน ไม่เคยมาร่วมประชุมเรื่องดังกล่าวแม้แต่ครั้งเดียว<ref>{{Cite web|last=ข่าวช่อง 8|title=กลุ่ม Mayday ชี้แจง กรณีดราม่าป้ายรถเมล์ {{!}} ข่าวช่อง 8|url=https://www.thaich8.com/news_detail/80100|website=www.thaich8.com|language=th}}</ref> และไม่เคยให้การสนับสนุนใด ๆ ในการทำโครงการดังกล่าว แต่กลับอ้างว่าเป็นผลงานของตนเอง ทำให้มีผู้ใช้เฟซบุ๊กจำนวนมากเข้าไปแสดงความคิดเห็นต่อว่าในเพจของ ผู้ว่า ฯ กทม. ที่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง พร้อมเรียกร้องให้มีการให้เครดิตและให้เกียรติกับคนที่ทำงานจริงด้วย
 
1.[[โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์]] มีการเปิดศูนย์ตรวจรักษาผ่าตัดผ่านกล้อง<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref>, ศูนย์ผู้สูงอายุและศูนย์เด็กเล็ก น่าอยู่คู่นมแม่ และอาคารเวชศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟู
ต่อมา พล.ต.อ.อัศวิน ต้องออกมาชี้แจงว่า ป้ายรถเมล์รูปแบบใหม่<ref name=":2" /> ไม่ใช่ผลงานของตนเอง ซึ่งตนก็บอกไปในเฟซบุ๊กแล้วว่า เป็นการนำแนวคิดจากกลุ่มของภาคประชาสังคม เช่น กลุ่มเมย์เดย์ มาผลิตเป็นป้ายหยุดรถเมล์ ซึ่งนำร่องไปแล้ว 30 ป้าย และ กทม.ก็ได้จัดสรรงบ ฯ ในปี 2562 และ 2563 เพื่อจัดทำป้ายไปติดตั้งบริเวณจุดเชื่อมต่อการเดินทางและที่ที่มีประชาชนใช้เส้นทางจำนวนมาก
 
2.[[โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน]]<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> มีการเปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ สถานที่พักฟื้นผู้สูงอายุ และขยายเตียงผู้ป่วยใน 100 เตียง
พล.ต.อ.อัศวิน ระบุว่า กทม.กับกลุ่มเมย์เดย์<ref name=":1" />ได้ทำงานร่วมกันอย่างต่อเนื่องในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ ซึ่งตนดีใจและขอขอบคุณที่คนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเมือง เพราะสิ่งที่ท่านคิดก็เพื่อให้เกิดประโยชน์และตรงกับความต้องการของประชาชนส่วนรวม กทม.เพียงแต่นำความคิดของท่านมาทำให้มันเกิดขึ้นจริงเท่านั้น
 
3.[[โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์]] ได้เปิดศูนย์สุขภาพ
=== ประเด็นน้ำท่วมกรุงเทพ ฯ อ้างลงพื้นที่แค่ไม่ได้ออกสื่อ ===
เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในช่วงน้ำท่วม ไม่เห็นผู้ว่า ฯ กทม. ลงพื้นที่ตรวจการระบายน้ำ<ref>{{Cite web|date=2020-10-08|title='อัศวิน'แจงดราม่าไร้เงายามน้ำท่วมกรุง ยันลงพื้นที่แค่ไม่ได้ออกสื่อ|url=https://www.dailynews.co.th/bangkok/799867|website=dailynews|language=th}}</ref> แต่ พล.ต.อ.อัศวิน<ref name=":0" /> ก็ได้ออกมาชี้แจงว่า คนวิจารณ์อาจเข้าใจว่าตนไม่ทำอะไร แต่ที่จริงแล้วทำงานตลอด แต่อาจจะไม่ได้ออกสื่อ เพราะหลายครั้งเกิดฝนตกหนักหรือน้ำท่วมในช่วงเวลากลางดึกก็ลงไปพื้นที่ติดตามการแก้ปัญหาทันที จะให้เชิญสื่อมาทำข่าวก็เกรงใจ
 
4.[[โรงพยาบาลคลองสามวา]]<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> ได้เปิดให้บริการผู้ป่วยนอกตรวจรักษาโรคทั่วไป
=== ประเด็นการเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม. ===
ในระหว่างดำรงตำแหน่งผู้ว่า ฯ กทม. เครือข่ายรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยท้องถิ่น (คปท.) จำนวน 75 คน มีมติให้ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่า ฯ กทม. ที่มาจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร ลาออกจากตำแหน่งผู้ว่า ฯ กทม. เพื่อให้มีการเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม.ใหม่ตามเจตจำนงอันเป็นอำนาจของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย<ref>[https://voicetv.co.th/read/xCJOn3WEt โดนใจคนกรุงหรือไม่? 4 ปี ผู้ว่าฯ กทม. (ม.44) 'อัศวิน ขวัญเมือง' อยู่ยาวปีที่ 5 ผู้ว่าฯ ลากตั้ง]</ref>
 
5.[[โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร]]<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เปิดให้บริการผู้ป่วยนอกตรวจรักษาโรคทั่วไป
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2564 ที่ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (กทม.) 2 ดินแดง พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.)<ref name=":0" /> ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีกระแสข่าว [[จักรทิพย์ ชัยจินดา|พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา]] อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) ขอถอนตัวพร้อมเปิดทางให้ลงสมัครเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.<ref>{{Cite web|last=matichon|date=2021-11-02|title='จักรทิพย์' ถอนตัวชิงผู้ว่าฯกทม. ปม 'ธรรมนัส' หนุน 'อัศวิน'|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3021902|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> โดยกล่าวว่า "เป็นเรื่องของเขา ไม่ใช่เรื่องของผม เขาจะไปไหนก็เรื่องของเขา จะสมัครหรือไม่สมัครก็เรื่องของเขา"
 
6.[[โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์]] เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> และแพทย์ทางเลือก และเปิดศูนย์ไตเทียม<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> หออภิบาลผู้ป่วยหนัก
ทั้งนี้ ผู้สื่อข่าวถามว่า พล.ต.อ.อัศวิน<ref name=":0" /> จะลงสมัครเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม. สมัยหน้าด้วยหรือไม่ พล.ต.อ.อัศวิน ระบุว่า "ขณะนี้ยังเป็นผู้ว่า ฯ กทม. จะไปสมัครทำไม จะให้ลาออกพรุ่งนี้แล้วไปสมัครเหรอ" 
 
7.[[คลินิกมลพิษทางอากาศ]]<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> ได้เปิดในโรงพยาบาล 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาลกลาง
จากนั้นผู้สื่อข่าวถามถึงกรณีกระแสข่าวพรรคพลังประชารัฐ เตรียมบุคคลลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม. ประกอบด้วย [[พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค|นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค]] ที่ปรึกษานายก ฯ และที่ปรึกษาหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ [[ณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร|นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร]] ผู้ว่า ฯ ปทุมธานี และ[[สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์|นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]] อธิการบดี[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)]] (ต่อมาเปิดตัวลงสมัครในนาม [[พรรคประชาธิปัตย์]]) ใครเป็นคู่แข่งน่ากลัวที่สุด พล.ต.อ.อัศวิน ระบุว่า "ไม่กลัวใครเลย ตอนนี้เกิดมาจะอายุ 70 ปีแล้ว ปืนก็ยังไม่กลัว ระเบิดยังไม่กลัว สมัครผู้ว่า ฯ กทม.จะไปกลัวทำไม แล้วผมก็ยังไม่ได้คิดจะลงสมัคร ขอให้หมดวาระก่อน แล้วค่อยมาถามผมหรือถ้าเขาประกาศรับสมัครแล้วค่อยมาถามผมและตอนนี้ไม่ต้องมาถามผมเพราะยังเป็นผู้ว่า ฯ กทม.อยู่ ยังไม่ได้ลาออกจากผู้ว่า ฯ กทม."
 
8.[[พัฒนาศูนย์การแพทย์ชั้นคลินิก]] คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล [[มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]]<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2562 ที่มีสถานการณ์วิกฤตของการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ได้มีบทบาทสำคัญในการบริหาร'''จัดการและแก้ไขสถานการณ์วิกฤตของการแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19''' เพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาด โดยผลักดันให้มีการทำระบบคัดกรอง BKK COVID-19<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เพื่อประเมินความเสี่ยงการติดเชื้อการตรวจหาเชื้อโควิด-19 เชิงรุก ด้วยการบริการ SWAB ถึงบ้านกับหมอแล็บแพนด้า<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> และช่วงที่สถานการณ์วิกฤตเพิ่มมากขึ้น ได้ผลักดันให้มีการขยายศักยภาพโรงพยาบาลรองรับผู้ป่วยโควิด-19 จัดตั้ง ICU สนาม ด้วยนวัตกรรม Modular ICU<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> 3 แห่ง 343 เตียง จัดตั้งโรงพยาบาลสนาม 13<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> แห่ง Hospitel ศูนย์พักคอย<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> 62 แห่ง จัดทีมปฏิบัติการเชิงรุก (Bangkok CCRT)<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เพื่อกระจายลงพื้นที่ตรวจหาเชื้อเชิงรุก ฉีดวัคซีนให้กับคนในชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง และจัดส่งยาอาหารให้ผู้ป่วยที่รักษาตัวที่บ้าน จัดเทศกิจอาสา ช่วยเหลือรับ-ส่งผู้ป่วย พัฒนาระบบ BKK covid-19 Connect เพิ่มช่องทางแจ้งข้อมูลเพื่อเข้ารับการรักษา และพัฒนาระบบ BKK HI Care บริการผู้ป่วยที่พักรักษาตัวที่บ้าน
 
• '''“โรงเรียน กทม.” เปลี่ยนไปแล้ว''' เป็นโครงการที่มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีการเพิ่มห้องเรียนสองภาษา<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> 74 โรงเรียน ส่งไปเรียนภาษาอังกฤษในต่างประเทศ<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> ทั้งสิงคโปร์ และออสเตรเลีย, เพิ่มหลักสูตรฝึกอาชีพนักเรียน<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> ชั้นมัธยมศึกษา 23 โรงเรียน พร้อมมีหลักสูตรเรียนเสริมทักษะ ทวิศึกษา เรียนสายสามัญควบคู่สายอาชีพ จบมาได้ 2 วุฒิ และเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้เด็กทุกคนที่อาศัยในกรุงเทพ ฯ, เพิ่มหลักสูตรเรียนร่วม<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref>  สำหรับนักเรียนที่ต้องการดูแลเป็นพิเศษกับนักเรียนปกติ 155 โรงเรียน และให้ทุนเอราวัณ<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> สำหรับเด็กนักเรียนสังกัดโรงเรียน กทม. ให้ได้เรียนปริญญาตรีฟรีในมหาวิทยาลัยชื่อดัง เรียนจบบรรจุเป็นครู กทม. และให้ทุน “ช้อนครู” โดยไปช้อนหานักศึกษาปริญญาตรี ปี 5 ที่เรียนด้านการศึกษามีผลการเรียนดีเด่น มอบทุนเรียนปีสุดท้ายและให้บรรจุเป็น ครู กทม.
 
นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพดีโดยเพิ่มอัตราค่าอาหาร<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> มื้อเช้าและกลางวัน 40 บาท ให้เด็กชั้นอนุบาลและชั้นประถมศึกษาทั้ง 431 โรงเรียน และเพิ่มค่าอาหารมื้อกลางวัน 25 บาท ให้เด็กชั้นมัธยมศึกษาทั้ง 109 โรงเรียน และยังมีแผนเดินหน้าพัฒนาการศึกษาให้กับเด็กกรุงเทพ ฯ อย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าโครงการนี้จะช่วยพัฒนาให้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบางแห่งในกรุงเทพ ฯ ดีขึ้น แต่ก็ยังคงมีเด็กกรุงเทพ ฯ จำนวนมากที่ขาดโอกาสทางด้านการศึกษา ส่งผลให้มีจำนวนประชากรว่างงานในกรุงเทพ ฯ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ต้องเร่งแก้ไขและพัฒนาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
 
== กระแสวิพากษ์วิจารณ์ ==
 
=== ประเด็นหากุญแจเปิดเครื่องสูบน้ำไม่เจอ ===
ปี 2561 เหตุการณ์ที่ทำให้โซเชียลมีเดียรุมถล่มอย่างกว้างขวาง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561 กรุงเทพมหานครเกิดฝนตกกระหน่ำจนเกิดน้ำท่วมขัง<ref>{{Cite web|date=2018-01-10|title=ฝนถล่มกรุง น้ำท่วมขังถนนหลายสาย การจราจรติดขัด|url=https://news.thaipbs.or.th/content/269223|website=Thai PBS}}</ref> บริเวณวงเวียนบางเขน สูงประมาณ 20 เซนติเมตร และใช้เวลาระบายน้ำร่วม 2 ชั่วโมงนั้น พล.ต.อ.อัศวิน<ref name=":0" /> กล่าวภายหลังลงพื้นที่ติดตามการแก้ไขปัญหาระบบระบายน้ำบริเวณปากซอยวิภาวดี-รังสิต 44 ว่า แม้ กทม.ดำเนินการก่อสร้างบ่อหน่วงน้ำใต้ดิน (Water Bank) เสร็จแล้ว เนื่องจากผู้รับเหมายังไม่ได้ส่งมอบงานให้ กทม. ทำให้เจ้าหน้าที่ กทม. ไม่มีกุญแจเปิดเครื่องสูบน้ำ<ref>{{Cite web|date=2018-10-03|title="หากุญแจเปิดเครื่องสูบน้ำไม่ได้" ผู้ว่าฯกทม.เผยหลังน้ำท่วมบางเขน|url=https://www.posttoday.com/social/general/566346|website=posttoday.com}}</ref> จึงสั่งการให้ผู้เกี่ยวข้องทำกุญแจสำรองไว้หลายดอก เพราะปัญหาลักษณะนี้ไม่ควรเกิดขึ้น ยอมรับเป็นความผิดของ กทม.
=== ประเด็นน้ำท่วมกรุงเทพ ฯ อ้างซึ่งได้ออกมาชี้แจงว่าลงพื้นที่แค่ไม่ได้ออกสื่อ ===
เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในช่วงน้ำท่วม ไม่เห็นผู้ว่า ฯ กทม. ลงพื้นที่ตรวจการระบายน้ำ<ref>{{Cite web|date=2020-10-08|title='อัศวิน'แจงดราม่าไร้เงายามน้ำท่วมกรุง ยันลงพื้นที่แค่ไม่ได้ออกสื่อ|url=https://www.dailynews.co.th/bangkok/799867|website=dailynews|language=th}}</ref> แต่ พล.ต.อ.อัศวิน<ref name=":0" /> ก็ได้ออกมาชี้แจงว่า คนวิจารณ์อาจเข้าใจว่าตนไม่ทำอะไร แต่ที่จริงแล้วทำงานตลอด แต่อาจจะไม่ได้ออกสื่อ เพราะหลายครั้งเกิดฝนตกหนักหรือน้ำท่วมในช่วงเวลากลางดึกก็ลงไปพื้นที่ติดตามการแก้ปัญหาทันที จะให้เชิญสื่อมาทำข่าวก็เกรงใจ
 
=== ประเด็นการเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม. ===
ในระหว่างดำรงตำแหน่งผู้ว่า ฯ กทม. เครือข่ายรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยท้องถิ่น (คปท.) จำนวน 75 คน มีมติให้ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่า ฯ กทม. ที่มาจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร ลาออกจากตำแหน่งผู้ว่า ฯ กทม. เพื่อให้มีการเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม.ใหม่ตามเจตจำนงอันเป็นอำนาจของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย<ref>[https://voicetv.co.th/read/xCJOn3WEt โดนใจคนกรุงหรือไม่? 4 ปี ผู้ว่าฯ กทม. (ม.44) 'อัศวิน ขวัญเมือง' อยู่ยาวปีที่ 5 ผู้ว่าฯ ลากตั้ง]</ref>
 
พล.ต.อ.อัศวิน กล่าวต่อว่า ขณะนี้ยังไม่ถึงเวลาที่ตัดสินใจ แต่จะทำวันนี้ให้ดีที่สุดเพราะหากสมมติว่าในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564 มีประกาศเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม.พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งผู้ว่า ฯ ตนก็ค่อยตัดสินใจวันนั้น เพราะตนเป็นคนง่าย ๆ ไม่ต้องมีการวางแผน แต่ขณะนี้ยังไม่ถึงเวลาและเรื่องการเลือกตั้งให้เป็นในส่วนของรัฐบาล
 
ผู้สื่อข่าวถามถึงกรณีพรรคพลังประชารัฐ มีชื่อ 3 บุคคลเป็นผู้สมัครลงเลือกตั้งผู้ว่า ฯ กทม. แต่ พล.ต.อ.อัศวินไม่มีพรรคการเมืองสนับสนุน พล.ต.อ.อัศวิน กล่าวเพียงว่า "ผมไม่มีพรรคการเมือง มีแต่พี่น้องประชาชน"<ref>[https://www.bangkokbiznews.com/politics/969749 "อัศวิน" ลั่นยังไม่ตัดสินใจสมัครเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. หลัง "จักรทิพย์" เปิดทาง]</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==