ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Patcha007 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ชีวประวัติ
| name = เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล
| image = File:นิสิตจุฬาฯ_มอบโปสการ์ดประธานศาลฎีกา-ขอสิทธิประกันตัวไผ่_ดาวดิน_(7)_ครอบตัด.jpg
| alt =
| caption = เนติวิทย์ในปี 2560
| birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2539|9|10}}
| birth_place = [[จังหวัดสมุทรปราการ]] [[ประเทศไทย]]
| death_date = <!-- {{Death date and age|ปปปป|ดด|วว|ปปปป|ดด|วว}} (วันเสียชีวิตตามด้วยวันเกิด) -->
| death_place =
| other_names = แฟรงก์
| occupation = [[นักเขียน]], [[นักประพันธ์]], นักเคลื่อนไหวสังคม
| years_active =
| known_for = นักกิจกรรมเสรีภาพในโรงเรียน มหาวิทยาลัย และการปฏิรูปการศึกษา
| notable_works =
| signature = เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล.png
| เว็บไซต์ = https://www.netiwit.com/
|}}
 
'''เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล''' (เกิด 10 กันยายน พ.ศ. 2539) {{ชื่อเล่น|แฟรงก์}} เป็นนักกิจกรรมนักศึกษา ผู้ประพันธ์และ[[ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม]] เขาก่อตั้งสมาพันธ์นักเรียนไทยเพื่อการปฏิวัติระบบการศึกษาไทยและกลุ่มการศึกษาเพื่อความเป็นไท<ref>[http://www.bangkokpost.com/print/421370/ "Fall into line, youngsters"] (''[[Bangkok Post]]'', 20 July 2014).</ref> ซึ่งทั้งสองกลุ่มมุ่งปฏิรูปการศึกษาไทย การเคลื่อนไหวช่วงแรก ๆ ของเขาเป็นการมุ่งเน้นเรื่องทรงผมนักเรียน ปฏิรูปหลักสูตรการศึกษา รวมถึงวิจารณ์พิธีกรรมหน้าเสาธงในโรงเรียน และการยกเลิกเกณท์ทหาร<ref name="เปิดใจ">[https://www.posttoday.com/politic/report/438526 เปิดใจ "เนติวิทย์" อึดอัด แต่ไร้ทางเลือก]</ref> [[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)|คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ]]เคยเสนอ "รางวัลสิทธิมนุษยชน" ประเภทเด็กและเยาวชนจากบทบาทการรณรงค์เคลื่อนไหวเรื่องสิทธิมนุษยชนในโรงเรียนให้เขา แต่เขาปฏิเสธ<ref name=":0">[https://prachatai.com/journal/2013/11/49855 'เนติวิทย์' ขอปฏิเสธรับรางวัลจากคณะกรรมการสิทธิฯ]</ref><ref>[https://www.the101.world/thoughts/under-netiwit-mask/ Under That Villain Mask : สอบปากคำ เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล ในวันที่ยังถูกมองเป็น ‘ตัวร้าย’]</reF>