พระกาฬไชยศรี หรือ พระกาล คติการบูชาพระกาลนั้นรับเอามาแต่อินเดียดั้งเดิม นิยมเรียก "พระกาลพระกุลี" หรือ "พระกาลกุลี" โดยดั้งเดิมจะนับถือพระกาลคู่กับพระกาลี ต่อมาภายหลังเรียกเพี้ยนเป็น "กุลี" ไป ต่อมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ทีจะเห็นสร้อย "กลี" ฟังดูน่ากลัวนัก จึงเปลี่ยนสร้อยเสียใหม่ให้เป็น "ไชยศรี" ใช้เป็นทางราชการมาเห็นจะราวในสมัยรัชกาลที่สี่ ดังปรากฏในประกาศถือน้ำนั้นแต่คนทั่ว ๆ ไปก็จะเรียก "พระกาฬ" เฉย ๆ ตั้งแต่นั้น[1] แต่คติการบูชาพระกาลยังคงอยู่โดยผสมกับคติความเชื่อพื้นถิ่นในไทย คือ ตากะลายายกะลีแทน[2]

พระกาฬชัยศรี
พระกาฬชัยศรีภายในศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร
ชื่อในอักษรเทวนาครีकाल
ชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตkāla
พาหนะนกแสก (พราหมณ์ไทย)
คู่ครองกาลี

รูปเคารพของพระกาฬไชยศรีของไทยตั้งอยู่ภายในศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร[3]

อ้างอิง

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้