ตัวบ่งปริมาณ (หนึ่งตัว)

แก้

ในวิชาคณิตศาสตร์ สาขาตรรกศาสตร์ ประโยคที่ว่า "มี...หนึ่งตัว" ใช้เพื่อแสดงว่ามีสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งที่สอดคล้องกับเงื่อนไขอย่างแน่นอน ตัวบ่งปริมาณตัวนี้ เป็นที่รู้จักกันในชื่อ ตัวบ่งปริมาณเอกลักษณ์ หรือ ตัวบ่งปริมาณแบบหนึ่งตัว

ใช้สัญลักษณ์ ∃! หรือ ∃=1 ยกตัวอย่าง ประโยคต่อไปนี้

 

หรือจะอ่านได้ว่า "มีจำนวนธรรมชาติ n อยู่หนึ่งตัว ซึ่ง n - 2 = 4

การพิสูจน์เอกลักษณ์

แก้

การพิสูจน์เอกลักษณ์ที่นิยมใช้กันคือการพิสูจน์ตัวแรกตามเงื่อนไข แล้วสมมติให้มีจำนวนๆ หนึ่งอยู่สองตัว (a และ b) ที่จะลงตัวกับเงื่อนไขได้พอดี และสมมูลกับประโยคนั้นๆ

อนึ่ง a = b

ยกตัวอย่างการพิสูจน์ ว่า x + 2 = 5 มีเพียงคำตอบเดียว ขั้นแรก จะเป็นการพิสูจน์โดยการสาธิตว่ามีคำตอบอยู่อย่างน้อยหนึ่งตัวแน่นอน ซึ่งก็คือ 3 จะเริ่มการพิสูจน์ส่วนนี้อย่างง่ายก่อน

 

ตอนนี้ ก็สมมติให้มีสองคำตอบ เป็น a และ b ซึ่งจะลงตัวกับ x + 2 = 5 ดังนั้น

  และ  

การดำเนินการของสมการ

 

ใช้หลักการตัดทิ้ง

 

ตัวอย่างการพิสูจน์ตัวบ่งปริมาณแบบหนึ่งตัวง่ายๆ ผลสุดท้าย นิพจน์ของทั้งสองข้างจะมีค่าเท่ากัน ซึ่งจะมาทำให้สอดคล้องกับเงื่อนไข

การพิสูจน์หาค่า   ซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไข และพิสูจน์ว่า สำหรับ   ใดๆ หมายความว่า เงื่อนไขของ   จะมีค่าเป็น  

การลดรูปเป็นตัวบ่งปริมาณแบบบางตัวและตัวบ่งปริมาณแบบทั้งหมด

แก้

ตัวบ่งปริมาณแบบหนึ่งตัวในบางครั้งยังเขียนได้ในรูปของตัวบ่งปริมาณแบบบางตัวและทั้งหมดในเชิงของตรรกศาสตร์พิสูจน์ โดยกำหนดประโยค :

 

ซึ่งสมมูลกับ

 

และ

 

ประโยคที่จะใช้กฎเพื่อแยกเงื่อนไขของตัวบ่งปริมาณแบบบางตัวและทั้งหมดเป็นสองเงื่อนไข หากจะเขียนสั้นๆ จะได้ :

 

ลดลงมาอีกจะได้

 

ภาพรวม

แก้

อีกหนึ่งภาพรวมของตัวบ่งปริมาณหนึ่งตัวคือจำนวนสมาชิก ซึ่งจะรวมอีกสองตัวบ่งปริมาณเป็นในแบบ "มี k ตัวซึ่ง..." เหมือนกับ "มีสมาชิกซึ่งระบุได้มีอยู่ซึ่ง..." และ "มีสมาชิกระบุได้หลายตัวซึ่ง..." ตัวอย่างข้างต้นเป็นการแสดงโดยใช้ตัวบ่งปริมาณลำดับ แต่สองตัวอย่างสุดท้าย จะแสดงเป็นลำดับในตรรกศาสตร์จัดลำดับไม่ได้

"ความเป็นเอกลักษณ์ (หนึ่งตัว)" จะขึ้นกับ "ความเข้าใจ" ความสัมพันธ์ของตัวบ่งปริมาณนี้ไม่ตายตัว ซึ่งจะขึ้นอยู่กับนิพจน์หรือสมการ (ในสาขานี้ ความเป็นเอกลักษณ์ปกติคือ "เป็นเอกลักษณ์ที่ขึ้นกับสมการ/นิพจน์") เช่น หลายๆ แนวคิดของทฤษฎีจัดลำดับจะเป็น "เป็นเอกลักษณ์ขึ้นกับรูปร่าง"

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  • Kleene, Stephen (1952). Introduction to Mathematics. Ishi Press International หน้า 199
  • Andrews, Peter B. An Introduction to Mathematical logic and type theory to truth through proof (2. ed.). Dordrecht: Kluwer Acad. Publ. หน้า 233. ISBN 1-4020-0763-9