ทดลองเขียน แก้

ให้ไปทดลองเขียน ที่เมนู "ทดลองเขียน" ด้านขวามือ บน ก่อนเีขียนจริง

ชื่อบทความคือ "คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร"

ตัดเนื้อหาไม่สำคัญออก ปรับเนื้อหา ภาษา และใส่อ้างอิง --ธวัชชัย (พูดคุย) 23:21, 14 กันยายน 2556 (ICT)

ตัวอักษรหัวเรื่อง แก้

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์   (อังกฤษ: Faculty of Humanities and Social Sciences, Sakon Nakhon Rajabhat  University)   สถาบันราชภัฏสกลนคร
จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พุทธศักราช  ๒๕๑๘ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการซึ่งออกตามพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ประกอบด้วย  ๑๑  
ภาควิชา คือภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ  สังคมวิทยา ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์   ดนตรี  ศิลปะ นาฏศิลป์   บรรณารักษศาสตร์สารนิเทศศาสตร์  ปรัชญาและศาสนา 
รัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
      ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ  พุทธศักราช   ๒๕๓๘  คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 

และได้เปลี่ยนตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของคณะจากคำว่า หัวหน้าคณะ มาใช้ คณบดี แทน

      ในปี ๒๕๔๑ได้เปลี่ยนแปลงการบริหารจาก “ภาควิชา” เป็นสาขาวิชา และในปี 2542 ได้รวมสาขาวิชาที่ใกล้เคียงมาเป็น “กลุ่มสาขาวิชา”  ปัจจุบันมีทั้งหมด ๖  กลุ่มสาขา
คือ ภาษาต่างประเทศ  ภาษาไทย สังคมศาสตร์ สุนทรียศาสตร์   บรรณารักษศาสตร์และนิเทศศาสตร์ และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
     การดำเนินการของคณะเป็นไปตามปรัชญา วิสัยทัศน์  พันธกิจ   เพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามที่กำหนดไว้
      ต่อมาวันที่ ๙ มิถุนายน   ๒๕๔๗   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ  พุทธศักราช ๒๕๔๗ 
ประกาศกิจจานุเบกษา เล่มที่  ๑๒๑  ตอนพิเศษ ๒๓  ก  
      ลงเมื่อวันที่ ๔  มิถุนายาน  พุทธศักราช  ๒๕๔๗   มีผลให้สถาบันราชภัฏสกลนคร ได้ยกฐานะเป็น มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร  ตั้งแต่วันที่  ๑๕ มิถุนายน  ๒๕๔๗  

และผู้ปฏิบัติหน้าที่คณบดีคนแรกของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คือ นายประสิทธิ์ คะเลลัมย์

ตัวอักษรหัวเรื่อง แก้

สีประจำคณะ

 สีแดง

ปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นองค์กรทางวิชาการที่จัดการศึกษาเพื่อพัฒนามนุษย์ ร่วมพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน

วิสัยทัศน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นผู้นำทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ของท้องถิ่น ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ มีคุณธรรม ใฝ่เรียนรู้และมีความรักในท้องถิ่น บริการวิชาการแก่ชุมชน ทำนุบำรุงศาสนาและศิลปวัฒนธรรม โดยอยู่บนพื้นฐานการประสานเครือข่ายประชาสังคม

พันธกิจ จัดการศึกษาสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยการบูรณาการภูมิปัญญาสากลให้เข้ากับภูมิปัญญาไทยละภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ มีคุณธรรมและรักท้องถิ่น ศึกษาวิจัยสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นและส่งเสริมทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคม ตลอดจนมรส่วนร่วมในการเสริมสร้างความเป็นท้องถิ่น

ทำเนียบผู้บริหารคณะ นายเนาวรัตน์ แย้มแสงสังข์ ตำแหน่ง หัวหน้าคณะ ช่วงเวลา พ.ศ.2518-2521 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประยุทธ กุยสาคร ตำแหน่ง หัวหน้าคณะ ช่วงเวลา พ.ศ.2521-2524 , พ.ศ.2529-2533 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ วรางรัตน์ ตำแหน่ง หัวหน้าคณะ ช่วงเวลา พ.ศ.2525-2528 นายมรรษธรรณ พฤกษวัน ตำแหน่ง หัวหน้าคณะ,คณบดี ช่วงเวลา พ.ศ.2534-2538,พ.ศ.2538-2542 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรีชา ธรรมวินทร ตำแหน่ง คณบดี ช่วงเวลา พ.ศ.2542-2545 นายประสิทธิ์ คะเลรัมย์ ตำแหน่ง คณบดี ช่วงเวลา พ.ศ.2545-2552 นายรัฐพล ฤทธิธรรม ตำแหน่ง คณบดี ช่วงเวลา พ.ศ.2552-ปัจจุบัน คณะผู้บริหาร นาย รัฐพล ฤทธิธรรม คณบดี อาจารย์ นพดล ชาสงวน รองคณบดีฝ่ายแผนงานและงบประมาณ อาจารย์ วีรศักดิ์ บำรุงตา รองคณบดีฝ่ายวิชาการและงานวิจัย อาจารย์ วิชาญ ฤทธิธรรม รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและประชาสังคม อาจารย์ ปฎิมาภรณ์ กังวานศรีเพรช รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและวัฒนธรรม บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายวิชาการ แบ่งตามสาขาวิชาต่างๆ ดังนี้ ๑. สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ ๒. สาขาวิชาภาษาไทย ๓. สาขาวิชาสังคมศาสตร์ ๔. สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ๕. สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ๖. สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ ๗. สาขาวิชานิติศาสตร์ ๘. สาขาวิชาศิลปกรรม ๙. สาขาวิชาดนตรี บุคลากรสายสนับสนุน นายสมเสน่ห์ อุปพงษ์ หัวหน้าสำนักงานคณบดี นายธวัชชัย วิลาชัย นักวิชาการโสตทัศนุปกรณ์ นางสาวทิพยา วรพันธ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางวิชยา ตรีศกประพฤทธิ์ ผู้ปฏิบัติงานบริหารทั่วไป นางสาวกฤษณา สายมาลัย เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ นางสาวกมลทิพย์ นาโควงศ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นายนพรัตน์ จุมศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นายคำล่า ไขคำ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวสายฝน ปุนหาวงศ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวจุฬาลักษณ์ สีโพธิ์ลี เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวสุกัญญา จันชะล้ำ ผู้ปฏิบัติงานทั่วไป นางสาวสายฝน หาวัง ผู้ปฏิบัติงานบริหารทั่วไป นางสาววิไลวรรณ อุดหนุน ผู้ปฏิบัติงานบริหารทั่วไป นายชาติชาย ทิสุกะ คนงาน นายณรงค์ เหลวกุล คนงาน นางนฤมล เหลวกุล คนงาน


สาขาภาษาอังกฤษธุรกิจ จุดประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในสายงานธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้มีพื้นฐานทั่วไปทางด้านธุรกิจมีความคิดริเริ่มในการดำเนินงานและพัฒนาธุรกิจ

3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจทฤษฎีการจัดการและเทคโนโลยีที่ช่วยในการจัดการธุรกิจสมัยใหม่

สามารถนำไปใช้ในการดำเนินงานได้

4. เพื่อให้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีคุณธรรม มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีทัศนคติที่มีต่องานธุรกิจ
5. เพื่อให้มีจรรยาบรรณและจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ
6. เพื่อให้มีจิตสำนึกที่ดีต่อการพัฒนาสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
7. เพื่อให้รู้จักรักษาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมอันดีของชาติ มีความสำนึกในความเป็นไทยและตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมโอกาสในการประกอบอาชีพ 
       บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษและภาษาอังกฤษธุรกิจสามารถประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านภาษาอังกฤษ ภาษาศาสตร์และสื่อสารทางด้านธุรกิจได้หลากหลายสาขา เช่น นักประชาสัมพันธ์ เลขานุการ พนักงานต้อนรับสายการบิน ล่าม นักแปล บรรณาธิการ ครู อาจารย์   เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ มัคคุเทศก์ พนักงานบริษัทนำเที่ยวและโรงแรม

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. มีความรู้ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษธุรกิจ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 2. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจ 3. มีความสามารถพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์ในสถานการณ์ต่างๆ 4. มีความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรม

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าส าหรับหลักสูตร ปริญญา ตรีปกติหรือส าเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าส าหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษ โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ ไม่น้อยกว่า 126 หน่วยกิต โดยมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่ม

สาขาวิชาดนตรี

จุดประสงค์เฉพาะ

1. ให้มีความรู้ความสามารถปฏิบัติดนตรีได้อย่างถูกต้องเทียบเท่ามาตรฐานสากลและเพียงพอที่จะนำมาประกอบอาชีพได้อย่างอิสระ 2. ให้มีความรู้ความเข้าใจในสุนทรีย์และปรัชญาดนตรี 3. ให้เป็นบุคคลที่สามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยีและสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4. ให้เป็นผู้ที่มีทัศนคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพทางดนตรี โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตของสาขาวิชาเทคโนโลยีดนตรีสามารถออไปประกอบอาชีพในสังคมได้อย่างหลากหลาย เช่น นักดนตรีอาชีพ นักวิชาการผู้สร้างสรรค์ผลงานดนตรีโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดนตรีได้คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีปกติหรือสำเร็การศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษ โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดนตรี มีจำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 123 หน่วยกิต

สาขาสารสนเทศ จุดประสงค์เฉพาะ

มุ่งพัฒนาบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในการดำเนินงานสารสนเทศศาสตร์และมีทักษะวิชาชีพสารสนเทศศาสตร์สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานนาถบันบริการสารสนเทศทั้งหน่วยงานภารรัฐ ภาคเอกชน และท้องถิ่น โดยมีการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดำเนินงานและจัดการสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพบัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนมีโอกาสในการประกอบอาชีพ ดังนี้

1. หน่วยงานภาคเอกชน เช่น ห้องสมุด สถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ หนังสือพิมพ์ ห้องสมุด ตลาดหลักทรัพย์ K –PARK ร้านหนังสือ 2. หน่วยงานภาครัฐ เช่น ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ห้องสมุดเฉพาะ ฯลฯ 3. ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ศูนย์สารสนเทศ ฯลฯ 4. สำนักงานอัตโนมัติ (อาทิ งานธุรการ งานสารบรรณ งานจัดระบบเอกสาร ที่นำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้) 5. หน่วยงานสังกัดท้องถิ่น (อบต. อบจ. เทศบาล ฯลฯ) 6. อาชีพอิสระ เช่น นักเขียน นักวิจารณ์บทประพันธ์ เจ้าของร้านหนังสือ 7. บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ นักสารสนเทศ

      คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีปกติหรือสำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษโครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 131 หน่วยกิต โดยมีสัดส่วนหน่วย กิตแต่ละหมวดวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 92 หน่วยกิต
2.1 วิชาเอกบังคับ 42 หน่วยกิต
2.2 วิชาเอกเลือก 50 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว จุดประสงค์ของหลักสูตร 1. ผลิตบัณฑิตมีความรู้ ความสามารถและเจตคติที่ดีต่ออาชีพอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

2. เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถดำเนินการประกอบอาชีพอิสระที่เกื้อหนุนต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวอันส่งผลต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของท้องถิ่นและประเทศ

3. มีความรู้ทางวิชาการ ความสามารถในทางปฏิบัติและตระหนักถึงความสำคัญของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีผลต่อการดำรงชีวิต การประกอบอาชีพสงคมสภาพแวดล้อม ของท้องถิ่นและประเทศ 4. มีเจตคติที่ดีต่อประเทศชาติ จรรโลงไว้ซึ่งวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมที่ดีของท้องถิ่นและประเทศ 5. มีปฏิภาณไหวพริบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถดำรงตนเป็นพลเมืองที่ดีของชาติโอกาสในการประกอบอาชีพ

      บัณฑิตของสาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการรวมทั้งธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยวประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยว พนักงานบริษัทนำเที่ยว มัคคุเทศก์ ผู้ประสานงานธุรกิจ การประชุมและการจัดสัมมนา นักการตลาด การท่องเที่ยวงานโรงแรมทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีปกติหรือสำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษโครงสร้างหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีหน่วยกิต รวมตลอด หลักสูตรไม่น้อยกว่า 137 หน่วยกิต โดยมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา

สาขาภาษาอังกฤษ จุดประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในสายงานธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้มีพื้นฐานทั่วไปทางด้านธุรกิจมีความคิดริเริ่มในการดำเนินงานและพัฒนาธุรกิจ 3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจทฤษฎีการจัดการและเทคโนโลยีที่ช่วยในการจัดการธุรกิจสมัยใหม่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินงานได้

4. เพื่อให้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีคุณธรรม มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีทัศนคติที่มีต่องานธุรกิจ
5. เพื่อให้มีจรรยาบรรณและจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ
6. เพื่อให้มีจิตสำนึกที่ดีต่อการพัฒนาสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
7. เพื่อให้รู้จักรักษาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมอันดีของชาติ มีความสำนึกในความเป็นไทยและตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมโอกาสในการประกอบอาชีพ 
         
   บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษและภาษาอังกฤษธุรกิจสามารถประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านภาษาอังกฤษ ภาษาศาสตร์และสื่อสารทางด้านธุรกิจได้หลากหลายสาขา เช่น นักประชาสัมพันธ์ เลขานุการ พนักงานต้อนรับสายการบิน ล่าม นักแปล บรรณาธิการ ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ มัคคุเทศก์ พนักงานบริษัทนำเที่ยวและโรงแรม

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. มีความรู้ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษธุรกิจ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 2. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจ 3. มีความสามารถพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์ในสถานการณ์ต่างๆ 4. มีความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรม คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตร ปริญญาตรีปกติหรือสำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษโครงสร้างหลักสูตร

     จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ ไม่น้อยกว่า 126 หน่วยกิต โดยมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่ม

สาขาพัฒนาชุมชน จุดประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และมีความสามารถในการเป็นผู้นำการพัฒนาชุมชน 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานพัฒนา ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรชุมชน 3. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีวิสัยทัศน์ ที่สามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมได้ 4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนาชุมชน 5. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาชุมชน แบบเน้นการมีส่วนร่วม ( PAR) เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง ยั่งยืน โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น โอกาสในการประกอบอาชีพ

         บัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนมุ่งทำงานกับประชาชนโดยตรงจึงมีโอกาสในการประกอบอาชีพได้หลากหลาย ได้แก่ รับราชการในหน่วยงานของรัฐ เช่น กระทรวงมหาดไทย กรมแรงงาน กรมประชาสงเคราะห์ กรมพัฒนาชุมชน องค์กรเอกชนต่าง ๆ เช่น องค์การ UNESCO, ECAFE องค์การเอกชน (NGO) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสังคมหรือชุมชน เป็นต้น

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตร ปริญญาตรีปกติหรือสำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษโครงสร้างหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาการพัฒนาชุมชน มีจำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 127 หน่วยกิต

สาขาภาษาไทย
 จุดประสงค์เฉพาะ
           นักศึกษาที่เรียนสาขานี้จะได้ศึกษาภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารงานธุรกิจ งานสื่อมวลชน รวมถึงลีลาการใช้ภาษาไทยในแง่มุมต่าง ๆ ทำให้มีความเชี่ยวชาญในการใช้ภาษาไทยเป็นอย่างดีสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไปโอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารมีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาไทยด้านต่าง ๆ เป็นอย่างดี จึงสามารถประกอบอาชีพได้หลายประเภท เช่น นักเขียน นักวิชาการ พิธีกร นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ นักการตลาด นักประชาสัมพันธ์ พนักงานบริษัท และเลขานุการ เป็นต้น

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1.สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีปกติหรือสำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษ

โครงสร้างหลักสูตร
        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มีหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 128 หน่วยกิต

สาขานิติศาสตร์

จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบุคลากรทางด้านนิติศาสตร์ ให้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางด้านกฎหมายแขนงต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ความสามารถที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น ให้ท้องถิ่นสามารถดำเนินการและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก และรับผิดในการช่วยเหลือสังคมและพัฒนาสังคม โดยการช่วยป้องกัน พิทักษ์ รักษาสิทธิประโยชน์ของประชาชนส่วนรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้การช่วยเหลือปกป้องและพิทักษ์สิทธิประโยชน์ของผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นอกจากนี้ให้มีความรับผิดชอบในวิชาชีพนักกฎหมาย มีความรับผิดชอบต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อพัฒนาบุคลากรที่อยู่ในวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายหรือในสาขาวิชาชีพต่าง ๆให้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางกฎหมาย ตลอดจนฝึกฝนให้สามารถใช้วิชาชีพกฎหมายให้ถูกต้อง เหมาะสมแก่กรณี โดยให้รู้จักใช้เหตุผล เข้าใจสาระสำคัญและเจตนารมณ์ของกฎหมายรวมทั้งสามารถนำความรู้ความสามารถแลประสบการณ์พัฒนาวิชาชีพของตนเอง พัฒนาสังคมและช่วยเหลือสังคมส่วนรวม  โอกาสในประกอบอาชีพ 
     บัณฑิตนิติศาสตร์ ที่มีความเชี่ยวชาญในกฎหมายหลายด้านสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็นผู้พิพากษา อัยการ ทนายความ ที่ปรึกษากฎหมายหรือ นิติกร ในหน่วยงานทั้งของภาครัฐและเอกชน


คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษา

     ผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีปกติหรือสำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าสำหรับหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2. เป็นผู้มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง 4. ไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต 6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 7. มีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษ โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 137 หน่วยกิต