ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาที่ได้แต่งงานกับกษัตริย์ สร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง เชื่อว่ามีที่มาจากชนชาติจ้วง-ลาว-ไทในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ และในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่เรียกชื่อต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านของยุโรป คือ ซินเดอเรลลา[1]

ใน พ.ศ. 2554 กระทรวงวัฒนธรรมขึ้นทะเบียนปลาบู่ทองเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของไทย[2]

การดัดแปลงเป็นสื่อ

แก้

ภาพยนตร์

แก้
  • ปลาบู่ทองได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์หลายครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2508 เป็นภาพยนตร์ 16 มม. สร้างโดย เทพกรภาพยนตร์ อำนวยการสร้างโดย กิติมา เศรษฐภักดี กำกับโดย อำนวย กลัสนิมิ (ครูเนรมิต) นำแสดงโดย ไชยา สุริยัน, ภาวนา ชนะจิต ออกฉายวันที่ 20 สิงหาคม 2508 ที่โรงหนังเฉลิมบุรี[3]
  • ในปี พ.ศ. 2522 เป็นภาพยนตร์ 35 มม. สร้างโดย ศิริมงคลโปรดัคชั่น อำนวยการสร้างโดย ชาญชัย เนตรขำคม กำกับโดย ชิต ไทรทอง นำแสดงโดย ลลนา สุลาวัลย์, ปฐมพงษ์ สิงหะ ออกฉายเมื่อ 7 กรกฎาคม 2522[4]
  • ในปี พ.ศ. 2527 เป็นภาพยนตร์ 35 มม. สร้างโดย วิษณุภาพยนตร์ อำนวยการสร้างโดย วิษณุ นาคสู่สุข กำกับโดย วิเชียร วีระโชติ นำแสดงโดย สุริยา ชินพันธุ์, เพ็ญยุพา มณีเนตร[5]
  • ในปี พ.ศ. 2537 เป็นภาพยนตร์ 35 มม. สร้างโดย กรุ๊ฟโฟร์ โปรดักชั่น กำกับโดย สิทธิชัย พัฒนดำเกิง บทภาพยนตร์โดย อาทิตย์ นำแสดงโดย สรพงษ์ ชาตรี, ขวัญภิรมย์ หลิน, เกรียง ไกรมาก, นวพร อินทรวิมล, ปาลีรัฐ ศศิธร, ทักษิณา สิงห์วิบูลย์ เข้าฉาย 8 พฤศจิกายน 2537[6]

ละครโทรทัศน์

แก้

ภาพยนตร์การ์ตูน

แก้

นักแสดงในครั้งต่าง ๆ

แก้
ปี พ.ศ. 2508 พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2527 พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2568
รูปแบบ ภาพยนตร์ 16 มม. ภาพยนตร์ทีวี ช่อง 7
ภาพยนตร์ 35 มม.
ละคร ช่อง 7 ภาพยนตร์ 35 มม. ละคร ช่อง 7 ละคร ช่องไอพีเอ็ม ละครเวที/ออกอากาศ 7 สีคอนเสิร์ต ละคร ช่อง 7 HD
ชื่อเรื่อง "แม่ปลาบู่"
ผู้กำกับ / ผู้สร้าง เนรมิต ไพรัช สังวริบุตร
ดาราฟิล์ม
ศิริมงคลโปรดัคชั่น วิษณุภาพยนตร์ สยม สังวริบุตร
สมชาย สังข์สวัสดิ์
สิทธิชัย พัฒนดำเกิง คูณฉกาจ วรสิทธิ์ ไอพีเอ็ม โปดักชั่น ไม่ทราบโรงละครที่สร้าง สามเศียร
เอื้อย,พระสนมเอื้อย / พระชายาเอื้อย (พระสนมเอื้อย, เอื้อย) 2568 ภาวนา ชนะจิต เยาวเรศ นิศากร ลลนา สุลาวัลย์ เพ็ญยุพา มณีเนตร อัจฉรา ทองเทพ นวพร อินทรวิมล พีชญา วัฒนามนตรี ปุณฐิภาภัคร์ สุวรรณราช กชกร ส่งแสงเติม เกศรินทร์ น้อยผึ้ง
อ้าย วรัญภรณ์ พัฒน์ช่วย
เจ้าชายพรหมทัต ไชยา สุริยัน พัลลภ พรพิษณุ ปฐมพงษ์ สิงหะ สุริยา ชินพันธุ์ ปริญญา ปุ่นสกุล เกรียง ไกรมาก วสุ ประทุมรัตน์วัฒนา ไชยวัฒน์ ผายสุวรรณ พลพจน์ พูลนิล สุรศักดิ์ สุวรรณวงษ์
เศรษฐีภาติกะ สมควร กระจ่างศาสตร์ สุวิน สว่างรัตน์ สมควร กระจ่างศาสตร์ สมภพ เบญจาธิกุล ชาตรี พิณโณ สรพงษ์ ชาตรี อัมรินทร์ สิมะโรจน์ ณัฐพล รัตนิพนธ์ ไม่มีตัวละครนี้ มาฬิศร์ เชยโสภณ
ขนิษฐา (แม่เอื้อย) วิไลวรรณ วัฒนพานิช น้ำเงิน บุญหนัก รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง อัมพวัน ศรีวิไล ปัทมา ปานทอง ขวัญภิรมย์ หลิน ทราย เจริญปุระ อภิสรา รักชาติ กชกร ส่งแสงเติม
ขนิษฐี (แม่อ้าย) ปรียา รุ่งเรือง ศิรินทิพย์ ศิริวรรณ อรสา พรหมประทาน พิศมัย วิไลศักดิ์ อรุโณทัย นฤนาท ปาลีรัฐ ศศิธร น้ำทิพย์ เสียมทอง สารดา เอ็งสิรภัส ชมพูนุท พึ่งผล
พระธิดามัลลิกา กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ นภิศา ป้อมเสน ไม่มีตัวละครนี้ ปภาดา ประกอบเสียง
เจ้าชายสุริยะ ริว จิตสัมผัส
ท้าวไชยทัต ไพโรจน์ สังวริบุตร เพชรฎี ศรีฤกษ์
พระมเหสีแสงจันทร์ วณิษฐา วัชรโรบล น้ำทิพย์ เสียมทอง
อึ่ง / หมื่นชาญชัย (อึ่ง)​ (2568) สุรจิต บุญญานนท์ ศุภกร​ จิเนราวัต
จี่ สุทธิดา หาญถนอม กุลปริยา ศรนิล
กลิ่น เบญจพร สุวรรณเมธ ลักษิกา สมบูรณ์
แม่หมอภัทรินดา อำภา ภูษิต ทรงพร ณ บางช้าง ยุวดี เรืองฉาย
ยายสม ระจิต ภิญโญวนิช เยาวเรศ นิสากร ศรีนวล ขำอาจ
จำปา วิลาวัลย์ โพธิ์แก่ง จารุศิริ ภูวนัย
คุณท้าวเทพทอง เสาวนีย์ เจิมงามพริ้ง นิตยา ปานะถึก
เอื้อย/อ้าย (ตอนเด็ก) ด.ญ.​ สาวิกา ไชยเดช ด.ญ.​ กิ่งกาญจน์ บุญสุข ด.ญ.​ ปาณิศรา กฤติกูลภาคิน
เจ้าชายพรหมทัต​ (ตอนเด็ก)​ ด.ช. นราธิษณ์​ น้ำค้าง ด.ช.​ ชัญญ​ จรัสวสุท
พระธิดามัลลิกา (ตอนเด็ก)​ ด.ญ. ไอย์ฌิฌ​า​ กรุดนาค
พระลบ ด.ช. ศิรวงศ์​ สังวริบุตร ด.ช. ชญานิน​ เต่าวิเศษ ด.ช.​ ปัณณวัฒน์​ เพชรเด็ด
อึ​่ง​ (ตอนเด็ก)​ ด.ช. นิจิโรจน์​ คุมสติ ด.ช. ณัฐพงศ์​ สิทธิกูล ด.ช. ชนะพล​ ศรีพรชัย
เขียด ด.ช. ลาภวัต​ เอียดสุวรรณ
กุมารี​ ด.ญ.​ ปานรดา คเชนทร์นุกูล
บุญโขน ด.ญ.ธัญชนิด เดชเส้ง
จี่​ (ตอนเด็ก)​ ด.ญ. เกษสุดา​ หลวงศรีราษฎร์​ ด.ญ. จิดาภา​ ชัยยงค์ ด.ญ. วรัชศยา ตั้งชัยวรรณา
กลิ่น​ (ตอนเด็ก)​ ด.ญ. สุดารัตน์​ อยู่เกิด ด.ญ. กันย์สิตา​ พลเกียรติบุรโชติ ด.ญ.นลินรัตน์ หรั่งน้ำทิพย์

อ้างอิง

แก้
  1. "อัศจรรย์รักข้ามขอบฟ้า จากมะเมียะถึง ซินเดอเรลล่า". กรุงเทพธุรกิจ. 14 July 2013. สืบค้นเมื่อ 18 June 2016.
  2. "ปลาบู่ทอง". กระทรวงวัฒนธรรม. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-10. สืบค้นเมื่อ 18 June 2016.
  3. ภาพยนตร์ ปลาบู่ทอง (2508)
  4. ภาพยนตร์ ปลาบู่ทอง (2522)
  5. ภาพยนตร์ ปลาบู่ทอง (2527)
  6. ภาพยนตร์ ปลาบู่ทอง (2537)
  7. 40 ปี ละครจักรๆ วงศ์ๆ บนเส้นทางที่แปรเปลี่ยน
  8. แม่ปลาบู่ (2515)
  9. ละครโทรทัศน์ ปลาบู่ทอง (2552)
  10. เรื่องย่อ "ปลาบู่ทอง" (2559)